Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิติบุตร, ผศ.วิไลลักษณ์-
dc.date.accessioned2018-01-23T02:48:17Z-
dc.date.available2018-01-23T02:48:17Z-
dc.date.issued2561-01-23-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/847-
dc.descriptionThe development of clean vegetable of consumers' network to promote Chiang Mai cleans vegetable agriculturists. This study has the objectives mainly to create a network of clean vegetable consumers and to promote Chiang Mai agriculturists in producing clean vegetables. Participatory action research between groups of clean vegetable consumers and provincial parties has been conducted to develop network of Chiang Mai clean vegetable consumers. Researchers and these parties had surveyed Chiang Mai clean vegetable consumers. The sample of this study is Chiang Mai vegetarian because they consume much more vegetables than other consumers. Five hundred and forty three copies of questionnaires had been distributed to assess consumers' behavior towards promoting Chiang Mai clean vegetables. These consumers were customers of 23 vegetarians' shops in Chiang Mai. The context of the survey deals with: 1) Consumers' awareness towards the danger of consuming vegetables produced with pesticide 2) Consumers' understanding of safe vegetables 3) Chiang Mai consumers' interest in consuming clean vegetables; 4) Chiang Mai consumers' opinions towards using clean vegetable in food shops 5) Suggestion for public relations concerning safety vegetables in Chiang Mai vegetarian shops The result of study can be the base to plan for the participation of Chiang Mai vegetarian entrepre-neurs in order to grow clean vegetables in Chiang Mai. There are 3 groups of participants joining in this research project. The first group is individual consumers in the household. The second group is vegetarian shop (J food shop). The third group is vegetarian shop (Mugsavirat food shop). It is difficult to bring the individual consumers in the household to support the clean vegetable agriculturists because these consumers select to purchase vegetables base on their convenience. The consumers groups of vegetarian and mugsavirat are not interested in the safety vegetable, they are concern that only it’s a vegetable not meat. As a result, providing the knowledge of cleaning vegetable before consuming should be promoted. To evaluate the way of promoting clean vegetarian shops have slightly supported. However, the Mugsavirat shops have a hundred percent of success to promote in producing clean vegetables to cook.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยและพัฒนาให้เกิดเครือข่ายผู้บริโภค ผักปลอดสารพิษ และเกิดการสนับสนุนการผลิตผักปลอดสารพิษของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ แนวทางในการวิจัยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจและการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ระหว่างกลุ่มผู้บริโภคผักปลอดสารพิษ กับหน่วยภาคระดับจังหวัด วิธีการวิจัยได้ท้าการสำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้บริโภคอาหารเจ และอาหารมังสวิรัติ ทั้งนี้เพราะผู้บริโภคดังกล่าวล้วนแล้วแต่เป็นผู้ที่มิอัตราการบริโภคผักในปริมาณและอัตราส่วนสูงกว่าผู้บริโภคกลุ่มอื่นโดยทั่วไป การสำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ต่อการสนับสนุนผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 543 ชุด ซึ่งเป็นผู้บริโภค อาหารในร้านอาหารเจ และร้านมังสวิรัติ ทั้งสิ้น 23 ร้าน ในประเด็นต่างๆ ที่ศึกษา ได้แก่ การตระหนักถึงพิษภัยของการบริโภคผักที่สารพิษตกค้าง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของผักประเภทต่างๆ ความสนใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ผักปลอดสารพิษในร้านอาหารของผู้บริโภคและข้อเสนอแนะต่อการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับความปลอดภัยของผักในรานอาหารเจ-มังสวิรัติ การศึกษาครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้บริโภครายเดี่ยวในครัวเรือน กลุ่มร้านอาหารเจ และกลุ่มร้านอาหารมังสวิรัติ ด้านการพัฒนาเครือข่ายผู้บริโภคที่จะสามารถเชื่อมโยงผลของ Demand และ Supply ของการบริโภคผักปลอดสารพิษ สรุปได้ว่ากลุ่มผู้บริโภครายเดี่ยวในครัวเรือนถึงแม้จะมีการบริโภคผักที่ปลอดภัยระคับหนึ่งแล้ว แต่การที่จะสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงสู่การสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษได้นั้นเป็นเรื่องยาก ทั้งนี้เพราะปัจจัยสำคัญ ของการเลือกซื้อผักของผู้บริโภคกลุ่มนี้คือ ความสะดวกในการเลือกซื้อเป็นหลักสำหรับผู้บริโภคอาหารเจและอาหารมังสวิรัติ ส่วนใหญ่ยังไม่มีความตระหนักถึงที่มาและความปลอดภัยของผักที่นำมาปรุงเป็นอาหาร แต่ให้ความสำคัญในประเด็นที่เป็นการบริโภคพืชผักเท่านั้น ในลักษณะนี้บทสรุปของการพัฒนาเครือข่ายการที่จะสนับสนุนให้ผู้บริโภคได้รับประทานผักที่ปลอดภัยได้ควรจะส่งเสริมในเรื่องของการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผักปลอดสารพิษ และวิธีการทำให้สะอาดก่อนนำไปปรุงอาหารเป็นสำคัญ สำหรับการประเมินทิศทางการสนับสนุนการผลิตผักปลอดสารพิษของเกษตรกรจากผู้ประกอบการร้านอาหารเจพบว่าได้รับการสนับสนุนน้อยมาก กลุ่มผู้ประกอบการอาหารมังสวิรัติ ถือได้ว่าเป็นเพียงกลุ่มผู้ประกอบการเพียงกลุ่มเดียวเท่านั้นที่ประสบความสำเร็จ 100 เปอร์เซ็นต์ ที่สามารถส่งเสริมการผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อนำมาประกอบอาหารเพื่อการปริโภคโดยตรงth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายผู้บริโภคผักปลอดสารพิษที่มีต่อการสนับสนุนการผลิตผักปลอดสารพิษของเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeDevelopment Clean Vegetable of Consumers’ Network to Promote Chiang Mai clean Vegetable Agriculturiststh_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ผศ.วิไลลักษณ์ กิติบุตร_2.pdf39.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.