Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสำเนา, หมื่นแจ่ม-
dc.date.accessioned2018-01-23T03:07:10Z-
dc.date.available2018-01-23T03:07:10Z-
dc.date.issued2561-01-23-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/852-
dc.descriptionThe purposes of this research were to 1) investigate problem situations and needs for child-centered approach by using media technology; 2) develop teachers for child-centered approach by using media technology; and 3) study research findings in child-centered approach by using media technology. The target group was Watchangkian School, Muang district, Chiang Mai province, where the respondents were its teachers, administrator, students, parents, and basic school committees. The instruments used in the research were text analysis, observation, interviewing, guidelines for brainstorming, a guidebook for teacher development, pretest and posttest, and satisfaction questionnaire. Percentage, mean, and standard deviation were used for data analysis. Descriptive analysis was employed to present its research findings. The findings were summarized as follows: The problem situations and needs for developing the quality of child-centered approach by using media technology was investigated by analyzing documents, interviewing the school administrator, and brainstorming from the teachers, students, parents, and basic school committees. It was found that the learning achievements of those students were in a lower level than expected. Their teachers had still provided teaching and learning activities with inconsistency in their needs; the teachers had yet to implement such a technology in teaching and learning processes. The basic school committees, parents, and students needed all the learners to learn how to use media technologies in learning process. The teacher developments of child-centered approach by using media technology were constructed by holding 6 workshop sessions in order to, namely, 1) set an analysis plan for the students involved in designing learning instructions; 2) design a learning module for child-centered approach by using media technology; 3) create multimedia; 4) create e-books; 5) make lessons for computer-assisted instruction; and, 6) determine the effectiveness of learning instructions, pretest and posttest designs, and the media technologies created by the teachers. The developments were shown in the following: 1) the teachers had knowledge and an understanding of making learning instructions and creating media technologies for developing the quality of child-centered approach by using media technology. The average score of their tests administered after attending the workshop sessions was 30.53%, which was higher before holding a workshop session; 2) the teachers’ behaviors were enthusiastic, intent, and interested in attending the workshop sessions for developing the quality of child-centered approach by using media technology; and 3) overall, the average of teachers’ satisfaction on the teacher development of child-centered approach by using media technology was in a high level of 4.57; the average of its policy and administration was in a middle level of 4.52; and, the average of its quality development of learning instructions was in a low level of 4.49, respectively. After developing the teachers for child-centered approach by using media technology, they implement the media technologies to facilitate learning instructions. The results were shown in the following: 1) the average score of their learning achievements before and after using media technology was 12.60-79.00; and 2) the students gave opinions that the implementation of child-centered approach by using media technology helped them to participate in not only setting the plans, but also using the created and selected media technologies to do learning activities. The students were able to learn by doing researches and joining group discussions. This created the atmosphere of joy, liviliness, and acqusition for their learning and affected their learning achievements in a higher level. The students could apply it to their daily life as well.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปญหาและความตองการในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ โดยใชสื่อเทคโนโลยี 2) พัฒนาครูดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยี และ 3) ศึกษาผลการ จัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยี กลุมเปาหมายคือ โรงเรียนวัดชางเคี่ยน อำเภอเมืองเชียงใหม จังหวัด เชียงใหม โดยมีผูใหขอมูลหลักคือ ครู ผูบริหาร นักเรียน ผูปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เครื่องมือที่ใช ในการวิจัยคือ แบบวิเคราะหเอกสาร แบบสังเกต แบบสัมภาษณ แนวทางการระดมสมอง คูมือการพัฒนาครู แบบทดสอบ และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะหขอมูลใชคารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน แลวนำเสนอผลวิจัยโดยใชวิธีการ พรรณนาวิเคราะห ผลการวิจัยสรุปได ดังนี้ สภาพปญหาและความตองการในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยี ดำเนินการโดยวิเคราะหเอกสาร สัมภาษณผูบริหารสถานศึกษา และระดมสมองจากครู นักเรียน ผูปกครอง และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบวานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกวาเปาหมายที่ตั้งไว ครูยังคงจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่ไมสอดคลองกับความตองการของนักเรียน ครูไมใชเทคโนโลยีในกระบวนการเรียนการสอน ผูปกครอง นักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตองการใหนักเรียนเรียนโดยใชสื่อเทคโนโลยี การพัฒนาครูดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยี โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 6 ครั้ง ดังนี้ 1) การวางแผนการวิเคราะหผูเรียนเพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู 2) การออกแบบหนวยการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยี 3) การสรางสื่อมัลติมีเดีย 4) การสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส 5) การผลิตบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน 6) การหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู แบบทดสอบกอนเรียนหลังเรียนและสื่อเทคโนโลยี ที่ครูสราง ปรากฏผลการพัฒนาดังนี้ 1) ครูมีความรู ความเขาใจในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูและสรางสื่อเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยมีคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการ สูงกวากอนการประชุมเชิงปฏิบัติการคิดเปนรอยละ 30.53 2) พฤติกรรมของครูมีความกระตือรือรน มีความตั้งใจ และสนใจ ในการเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ 3) ความพึงพอใจของครู ตอการพัฒนาครูดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยีในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.57 รองลงมาคือดานนโยบายและการบริหารจัดการ และดานการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนเรียนรู มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.52 และ 4.49 ตามลำดับ หลังจากพัฒนาครูดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อเทคโนโลยี ครูไดนำสื่อเทคโนโลยีไปจัดการ เรียนรูใหแกผูเรียน ปรากฏผลดังนี้ 1) ผูเรียนมีคะแนนรอยละความกาวหนาของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและ หลังเรียนโดยใชสื่อเทคโนโลยีอยูระหวาง 12.60-79.00 2) ผูเรียนมีความคิดเห็นวาการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ โดยใชสื่อเทคโนโลยีชวยใหผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผน เลือก สราง และใชสื่อการเรียนการสอนทางเทคโนโลยีในการจัด กิจกรรมการเรียนรู ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเอง มีการศึกษาคนควาและอภิปรายกลุมทำใหบรรยากาศในการเรียนมีความ สนุกสนาน ตื่นตัวอยูตลอดเวลาไมนาเบื่อ สงผลใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และสามารถในไปใชในชีวิตประจำวันไดth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.subjectการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญth_TH
dc.subjectสื่อเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectChild-centered approachth_TH
dc.subjectMedia technologyth_TH
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อเทคโนโลยีth_TH
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF LEARNING PROCESS FOR CHILD-CENTERED APPROACH BY USING MEDIA TECHNOLOGYth_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ดร.สำเนา หมื่นแจ่ม.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.