Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/883
Title: การศึกษาเครื่องดนตรีของกลุมชาติพันธุลาหูในเขตพื้นที่โครงการหลวงอางขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม
Other Titles: TRADITIONAL MUSICAL INSTRUMENT OF THE LAHU IN THE ANGKANG ROYAL PROJECT, FANG DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCE
Authors: แกวหลา, นิรุตร
Keywords: ลาหู
ดนตรีชาติพันธุวิทยา
อางขาง
Lahu
Ethnomusicology
Angkang
Issue Date: 24-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: งานวิจัยเรื่อง การศึกษาเครื่องดนตรีของกลุมชาติพันธุลาหูในเขตพื้นที่โครงการหลวงอางขาง อำเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใชระเบียบวิจัยทางดานดนตรีชาติพันธุวิทยา (Ethnomusicology) ในการเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูล และนำเสนอขอมูลเชิงพรรณนาวิเคราะห (Descriptive Analysis) ผลการวิจัยพบวา เครื่องดนตรีของชาวลาหูมีหลายชนิด ไดแก หนอเซะ หนอกูมา และตือ ไมสามารถระบุไดแนนอนวาอยูในสังคม วัฒนธรรมลาหูมานานมากเทาไร ทั้งนี้เนื่องจากชาวลาหูไมมีตัวหนังสือเปนของตนเองจึงไมมีการจดบันทึก บทบาทของดนตรี ลาหูตอสังคมเกี่ยวของกับขนบธรรมเนียมประเพณีอยางแยกไมออก ทั้งนี้ ชาวลาหูมีการสอดแทรกขอปฏิบัติ ขอหาม ขอนิยม ไปกับวัฒนธรรมดนตรีของตนเอง เครื่องดนตรีของชาวลาหูผลิตจากวัสดุธรรมชาติที่หาจากปา เชน ไมไผ ไมเนื้อแข็ง และขี้ชันโรง เปนตน เครื่องดนตรี ใชประกอบในพิธีตางๆ คือ งานปใหม เตนจะคึ กินขาวใหม ประเพณีเลี้ยงผีเรือน และประเพณีสงเคราะหหมูบาน
Description: Traditional Musical Instrument of the Lahu in the Angkang Royal Project, Fang District, Chiang Mai Province. This qualitative research of Lahu Musical Instruments data collects by using the Ethnomusicology research methodology and descriptive analysis presentation. Music of the Lahu has many instruments such as, Nor-Ser, Nor-Kuma, and Tue. There is no writing or letters in Lahu language, so it is not recording songs. The roles of Lahu music for society are closely relationship with customs and practices. Lahu people have the procedure, rules, prohibition, regulation practices with music culture. Lahu Musical Instruments are mostly made of natural materials deserving from the forest such as bamboo, hardwood, and stingless bee, that is the major materials of Lahu musical instruments. The instruments are used in many auspicious ceremony such as, New Year Ceremony, Ja-Kue Dance, New-Rice celebration, Worship House Spirit (Home-coming ceremony), and Village Merit Making Ceremony.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/883
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
นิรุตร์ แก้วหล้า.pdf12.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.