Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเรือนคำ, ธฤษ-
dc.date.accessioned2018-01-24T07:54:42Z-
dc.date.available2018-01-24T07:54:42Z-
dc.date.issued2561-01-24-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/890-
dc.descriptionEstablishing information center for research and development clean vegetables in Chiang Mai for the year of 2008 has the objective to establish and develop source of information technology, innovation and local wisdom of clean vegetable agriculture as well as develop to transfer information technology to apply and use in communities. This research is conducted with other related organizations of clean vegetables. As a result, six information centers of Chiang Mai clean vegetables are founded; 1) information center at Maewang district; 2) information center at Sanpatong district; 3) information center at Sarapee district; 4) information center at Muang district; 5) information center at Doi Saket district and 6) information center at Phraow district. Information centers of clean vegetables were established and connected by the network of clean vegetable agriculturists in Chiang Mai and information is distributed on website of the clean vegetable administrative center (http://www.mcs.okrd.org) which linked by the website of Chiang Mai Provincial Agricultural office (http://www.Chiangmai.doae.go.th) in order to distribute knowledge base in production, marketing of clean vegetables and connect consumers with the production source of clean vegetables. Information center for research and develop clean vegetable products in Chiang Mai has publicized knowledge base of clean vegetables for communities to study how to use information in managing clean vegetable production such as presenting clean vegetables through information center for research and development clean vegetables as well as enlarge the channel of distribution to consumers in every level. For the next phase of study, researcher will tender this information center to Chiang Mai and develop so that clean vegetable local agriculture office to look after and continue to improve producer and consumers can obtain the advantage form using this center such as adjusting information of producing clean vegetables, price of clean vegetables which should be updated in order to make trust for producers and consumersth_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง "การจัดทำศูนย์ข้อมลสารสนเทศเพื่อการวิจัยและพัฒนาสินค้าผักปลอดสารพิษ จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2551" มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อสร้างและพัฒนาแหล่งข้อมลเทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมิปัญญาของชุมชนทางด้านการเกษตรผักปลอดสารพิษที่สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง และเพื่อให้เกิดการวิจัยและพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีศักยภาพและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในทองถิ่นได้อย่างเหมาะสม แนวทางในการวิจัยครั้งนี้ได้ดำเนินการรวมกับหน่วยงานที่เกี่ยวของทุกภาคส่วนทั้งระดับชมชนจนถึงระดับจังหวัดจนสามารถสร้างและพัฒนาศูนย์ข้อมลสารสนเทศเพื่อการวิจัยและพัฒนาสินค้าผักปลอดสารพิษจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 6 ศูนย์ฯ ได้แก่ 1) ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศฯ อำเภอแม่วาง 2) ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศฯอำเภอสันป่าตอง 3) ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศฯ อำเภอสารภี เว็บไซต์ 4) ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศฯ อำเภอเมือง5) ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศฯ อำเภอดอยสะเก็ด และ 6) ศูนย์สารสนเทศฯ อำเภอพร้าว การจัดดังเป็นศูนย์ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเกษตรปลอดสารพิษและเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษของจังหวัดเชียงใหม่ โดยการจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศบนเว็บไซต์ของศูนย์บริหารจัดการผักปลอดสารพิษ (http://www.mcs.okrd.org) ที่เชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของสำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ (http://www.chiangmai.doae.go.th) ซึ่งการดำเนินงานจัดสร้างศูนย์ข้อมูลสารสนเทศฯ สาหรับเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านการผลิตและการตลาดผักปลอดสารพิษ เพื่อเชื่อมโยงผู้บริโภคกับแหล่งของการผลิตผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์สารสนเทศเพื่อการวิจัยและพัฒนาสินค้าผักปลอดสารพิษ จังหวัดเชียงใหม่ได้ให้บริการในการเผยแพร่องค์ความทางการเกษตรปลอดสารพิษที่ได้จากการถอดองค์ความรู้ทางวิชาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของเกษตรกรรวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ให้ชุมชนได้มีโอกาสเรียนรู้ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับการจัดการผลิตผักปลอดสารพิษของชุมชน โดยการนำเสนอสินค้าผักปลอดสารพิษที่เกษตรกรผลิตขึ้นผ่านทางศูนย์สารสนเทศเพื่อการวิจัยและพัฒนาสินค้าผักปลอดสารพิษให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลการผลิต การตลาด การติดต่อสอบถามข้อมูลโดยท้าไปอีกทั้งยังเป็นการขยายช่องทางทางการตลาดสู่ผู้บริโภคได้ในทุกระดับ การดำเนินงานในระยะต่อไป คณะวิจัยได้ทำการส่งมอบศูนย์ข้อมลสารสนเทศเพื่อการวิจัยและพัฒนาสินค้าผักปลอดสารพิษจังหวัดเชียงใหม่ให้กับสำนักงานเกษตรท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่เป็นผู้ดูแลและสานต่อการดำเนินงานในการปรับปรุงและพัฒนาศูนย์ฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคผักปลอดสารพิษสามารถใช้ประโยชน์จากศูนย์ฯ อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการปรับข้อมลการผลิตผัก ข้อมลราคาผัก ควรปรับให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคได้อย่างยังยืนth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleการจัดทำศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการวิจัยและพัฒนาสินค้าผักปลอดสารพิษ จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2551th_TH
dc.title.alternativeEstablishing information center for research and development clean vegetables in Chiang Mai for the year of 2008th_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ธฤษ เรือนคำ.pdf24.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.