Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุทธิภาศิลป์, รัชนีพร-
dc.contributor.authorศรีเดชะกุล, ธัญวรรณ์-
dc.date.accessioned2018-01-24T08:08:18Z-
dc.date.available2018-01-24T08:08:18Z-
dc.date.issued2561-01-24-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/897-
dc.descriptionThe purpose of the research was to granular organic fertilizer from agricultural wastes. Mineral nutrient (N-P-K-Ca-Mg content) of Peanut husk, Peanut Stem, Rice straw, Black rice hull, Rice Bran, Cabbage, Chinese Kale, Chinese Cabbage, Swine manure, Poultry Manure and Bat Manure were analyzed. The concentrations of the mineral nutrients in Peanut husk were N=1.52%, P=1.59%, K=2.6 %, Ca=10.25% and Mg=0.94%, Rice Bran : N=1.67%, P=0.08%, K=0.63%, Ca=8.97% and Mg=1.08%, Swine manure : N =1.15%, P=4.26%, K=0.21%, Ca=1.29 % and Mg=0.34 %, Poultry Manure : N=1.38%, P=5.39%, K=1.84%, Ca=5.75% and Mg=0.64%, Bat Manure : N=2.10%, P=13.89%, K=1.10%, Ca=1.30% and Mg=0.90%, Black rice hull : N=0%, P=0.11%, K=0.67%, Ca=3.04% and Mg=1.09%, respectively. Study of the ratio of granular organic fertilizer found that a ratio of 18:32:20:20:4:6 (By percentage) and mixed with binder material (Molasses). The granular organic fertilizer were analyzed. The result were : N=1.75%, P=1.66 %, K= 1.01%, Ca=8.34%, Mg=2.56%, OC=32.05%, OM=59.23%, pH = 6.3, EC=3.4 dS/m and C:N ratio=18:1th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิต ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากวัสดุ เหลือใช้ทางการเกษตร ผลการศึกษาพบว่า วัสดุเหลือใช่ทางการเกษตรที่มีศักยภาพส่วนใหญ่ที่มีปริมาณในโตรเจนสูง ได้แก่ เปลือก ถั่วลิสง รำละเอียด มูลสุกร มูลไก่ มูลค้างคาว และแกลบดำ เมื่อทำการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารได้แก่ N, P, K, Ca และ Mg พบว่า เปลือกถั่วลิสง มี 1.52, 1.59, 2.68, 10.25 และ 0.94% ราละเอียดมี 1.67, 0.08, 0.63, 8.97 และ 1.08% มูลสุกรมี 1.15, 4.26, 0.21, 1.29% และ 0.34% มูลไก่มี 1.38, 5.39, 1.84, 5.75 และ 0.64% มูลค้างคาวมี 2.10, 13.89, 1.10, 1.30 และ 0.90% และแกลบดำมี 0, 0.11, 0.67, 3.04 และ 1.09% ตามลำดับ ผลการศึกษาอัตราส่านของวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด พบว่าวัสดุเกษตรที่จะนำมาเป็นส่วนผสม ต้องบดให้ละเอียดและคลุกเคล้าให้เข้ากัน โดยมีส่วนผสมเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ดังนี้ มูลสุกร 20% มูลไก่ 20% มูลค้างคาว 4% เปลือกถั่วลิสงบด 18% รำละเอียด 32% แกลบดำ 6% และใช้กากน้ำตาลเป็นตัวประสาน ในการอัดเม็ด ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด พบว่ามีปริมาณในโตรเจน (N) 1.75% ฟอสฟอรัส (P) 1.66% โพแทสเซียม (K) 1.01% แคลเซียม (Ca) 8.34% แมกนีเซียม (Mg) 2.56% อินทรีย์คาร์บอน (OC) 32.05% อินทรียวัตถุ (OM) 59.23% ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) 6.3 ค่าการนำไฟฟ้า (EC) 3.4 dS/m และ C:N ratio 18:1th_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรth_TH
dc.title.alternativeGranular Organic Fertilizer form Agricultural Wastesth_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.