Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/916
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลอมศรี, สกานต-
dc.contributor.authorพัฒนพงศา, นรินทรชัย-
dc.date.accessioned2018-01-26T06:47:34Z-
dc.date.available2018-01-26T06:47:34Z-
dc.date.issued2561-01-06-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/916-
dc.descriptionThis research aims to study the Active Learning quality of foreign English teachers. A handbook for teaching English in an Active Learning was developed as guidelines and to compare the results of Active Learning towards learning English for Grade 9 students in Chiang Mai and Lamphun. The populations in this research were 23 Private schools (Except the Foundation School) Grade 9 in Chiang Mai and 3 schools from Lamphun. After surveyed, there were 5 schools that willing to participate. Then classified the samples into two groups, 3 schools for experimental group and 2 schools for control group. A quasi-experimental design was used. Data was collected using a questionnaire, surveys, score points collected between semester, final scores, and the pre-test and post-test scores. The results showed that 1) The use of Active Learning for experimental school teachers increased. 2) An Active Learning Handbook for foreign teachers was appropriate. 3) The result of the experimental and control students’ English score, significant at 0.05, were as follow: (1) Before the experiment, the experiment and control students’ English score were not different. (2) For the experimental group, the English score after the experiment was higher than before the experiment. (3) The different score (post-pre) of the experimental group was higher than the control group.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning Management) ของครูผูสอน ภาษาอังกฤษชาวตางชาติในโรงเรียนเอกชนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในจังหวัดเชียงใหม และลำพูน พัฒนาคูมือแนวทาง การจัดการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในรูปแบบการเรียนรูเชิงรุก และเปรียบเทียบผลของการเรียนรู เชิงรุกที่มีตอการเรียนรูภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนเอกชนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในจังหวัดเชียงใหม และลำพูน ประชากร ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ โรงเรียนเอกชนที่รับเงินอุดหนุนจากรัฐ (ยกเวนโรงเรียนที่เปนมูลนิธิ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในจังหวัดเชียงใหม 23 โรงเรียน และจังหวัดลำพูน 3 โรงเรียน ผูวิจัยไดสำรวจโรงเรียนที่ประสงคเขารวมกิจกรรม ไดมาทั้งหมด 5 โรงเรียน จากนั้นกำหนดใหเปนกลุมทดลอง 3 โรงเรียน และกลุมควบคุม 2 โรงเรียน ใชการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เก็บรวบรวม ขอมูลโดยใชแบบสำรวจ แบบสอบถาม คะแนนสอบระหวางภาค คะแนนสอบปลายภาค คะแนนทดสอบกอนและหลัง การทดลอง ผลการวิจัย พบวา 1) ครูโรงเรียนกลุมทดลองมีการใชรูปแบบการเรียนรูเชิงรุกเพิ่มขึ้น 2) คะแนนภาษาอังกฤษ ของโรงเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีผลที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้ (1) กอนการทดลอง คะแนน ภาษาอังกฤษของโรงเรียนกลุมทดลองและโรงเรียนกลุมควบคุมมีคาไมแตกตางกัน (2) สำหรับกลุมทดลอง คะแนนหลัง การทดลองสูงกวากอนการทดลอง (3) คะแนนที่เพิ่มขึ้น (หลัง-กอน) ของโรงเรียนกลุมทดลองสูงกวากลุมควบคุมth_TH
dc.subjectการจัดการการเรียนรูเชิงรุกth_TH
dc.subjectการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยth_TH
dc.subjectครูผูสอนชาวตางชาติth_TH
dc.subjectActive Learning Managementth_TH
dc.subjectThai Students Learning Englishth_TH
dc.subjectForeign Teachersth_TH
dc.titleการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับครูชาวต่างชาติ ที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยth_TH
dc.title.alternativeACTIVE LEARNING MANAGEMENT FOR FOREIGN TEACHERS TOWARD THAI STUDENTS’ ENGLISH LANGUAGE LEARNINGth_TH
dc.typeJournalth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.