Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภาสินีส์, เหลืองวิเศษกุล-
dc.contributor.authorธนัชพร, ศิริรัตน์-
dc.date.accessioned2018-11-13T08:58:51Z-
dc.date.available2018-11-13T08:58:51Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: รวมบทความวิจัย บทความวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2560, หน้า 233-245th_TH
dc.identifier.isbn9786167669519-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1152-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์บทความนี้คือ 1) ศึกษาและวิเคราะห์ถึงบทบาทของความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง และระเบียงเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่ม แม่น้ำโขง 2) ผลกระทบจากความร่วมมือในระดับภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงต่อระบบเศรษฐกิจในเขตภาคเหนือตอนบน โดยความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างคือ จีนตอนใต้ กัมพูชา เมียนมา ลาว เวียดนาม และไทย โดยมีธนาคารพัฒนาแห่งเอเชียให้ความช่วยเหลือทางวิชาการและเงินกู้ ทุกประเทศร่วมกันวางแผนและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ โดยเริ่มพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและเส้นทางคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศสมาชิก ก่อเกิดเป็นระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงที่มีเส้นทางสำคัญ 5 เส้นทางจากภายใต้แนวระเบียงเศรษฐกิจแนวใต้ แนวระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออกไปตะวันตก และ แนวระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้ ซึ่งบางเส้นทางก็ได้รับความนิยมจากประชาชนเพราะทำให้การเดินทางระหว่างประเทศสมาชิกมีความรวดเร็วและสะดวกมากยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางเส้นทางที่ยังไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากยังมีข้อจำกัดด้านความปลอดภัยของภายในประเทศนั้นๆ ส่วนการค้าตามเขตชายแดนภาคเหนือตอนบนเป็นการค้าขายระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งมีปัญหาและอุปสรรค เช่น ปัญหาด้านการคมนาคมขนส่งสินค้า ปัญหาเกี่ยวกับกฎระเบียบทางการค้า ส่วนลักษณะของการค้าต่างประเทศที่สำคัญในเขตภาคเหนือตอนบนคือการค้าผ่านด่านศุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือลำพูน และการค้าบริเวณชายแดน จากการค้นคว้าข้อมูลทางการค้าบริเวณชายแดนบริเวณชายแดนภาคเหนือตอนบนหลังเกิดความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง พบว่าการค้าระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้านนั้นมีปริมาณและมูลค่าเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการเคลื่อนย้ายประชากรก็มีเพิ่มมากขึ้นดังจะเห็นได้จากจำนวนนักท่องเที่ยวชาวจีนในปัจจุบันที่นิยมขับรถมาท่องเที่ยวประเทศไทยมากขึ้นเช่นกัน จากประโยชน์ต่างๆ ที่ไทยได้รับไทยควรผลักดันและส่งเสริมสินค้าจากเอกชนไทยในการเข้าสู่ตลาดใหญ่อย่างประเทศจีน และสนับสนุนให้จีนใช้ไทยเป็นศูนย์กระจายสินค้าเข้าสู่ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อไปth_TH
dc.format.medium.pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักหอสมุด. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.relation.ispartofมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (2560). ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: รวมบทความวิจัย บทความวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2560. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย.th_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectความร่วมมือทางเศรษฐกิจth_TH
dc.subjectอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจ ภาคเหนือตอนบนth_TH
dc.subjectGMSth_TH
dc.titleความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ต่อการพัฒนาการค้าและการขนส่งตามแนวชายแดนในเขตภาคเหนือตอนบนth_TH
dc.title.alternativeEconomic Cooperation in the Greater Mekong Subregion (GMS) on Trade and Transportation Along the Border in the Upper Northern Regionth_TH
dc.typeBook Chapterth_TH
dc.identifier.callnumber337-
Appears in Collections:Article



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.