Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรังสรรค์, จันต๊ะ-
dc.date.accessioned2019-11-08T06:55:27Z-
dc.date.available2019-11-08T06:55:27Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1948-
dc.descriptionThis study aimed to investigate the recovery ritual ceremony of the “Self Transformation” of the Lua Borluang ethnic group in Hot district, Chiang Mai province in Folklore Study. It comprised; cutting off between the ancestor spiritual and alive person ceremony; and making a “Lamang” spirit offering ceremony during ailment. There were ritual ceremony textual analysis, social relationship system analysis, and the dynamic of cultural re - production process analysis. Results of the study revealed that the ritual ceremony happening under the social class relationship structure of the ethnic group and common sense in the tradition nature concept system was the regulations of the fighting for the construction of negotiation power. This also included the competition for gaining social power and soul between the principal wife in the ruling class and the minor wife in the ordinary person class of the Lua ethnic group. This was the re – production of meaning construction of minor wife power by those having a lower power. It was shown through the ritual ceremony lively joined by relatives and honored guests which meant praiseworthiness. This represented the relationship system in the community reflecting through power and competition. It relied on draft animal worship ceremony for offering food to ancestor spirits. This aimed to response to life protection of the first new man member of a powerful family. The negotiation with the sacred power wan though the cutting off between the ghost and alive person ceremony. This included morale support to make the ailment be disappeared. The re – production of negotiation process and competition for the social class were through discourse, re – production process and social consciousness for the peaceful of their community in finally.th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพิธีกรรมการเปลี่ยนผ่านระหว่างช่วงชีวิต ของกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะบ่อ หลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ โดยศึกษาผ่านทฤษฎีคติชนวิทยา วิเคราะห์โครงสร้างระบบความสัมพันธ์ทางสังคม และการวิเคราะห์ตัวบทของพิธีกรรม ผลการศึกษาพบว่า พิธีกรรมที่เกิดขึ้นภายใต้โครงสร้างความสัมพันธ์ทางชนชั้นของกลุ่มชาติพันธุ์ และ สามัญสำนึกในระบบจักรวาลวิทยาแบบดั้งเดิมนั้น คือแบบแผนของการต่อสู้แข่งขันเพื่อสร้างอำนาจต่อรองทาง ชนชั้น และการช่วงชิงอำนาจเชิงพื้นที่ทางสังคม กับพื้นที่ทางจิตวิญญาณ ระหว่างฝ่ายมเหสีในกลุ่มตระกูลของ ชนชั้นฝ่ายเจ้า กับฝ่ายชายาในกลุ่มตระกูลของชนชั้นสามัญชนธรรมดาของกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะด้วยกันเอง เป็น การผลิตซ้ำการสร้างความหมายในเชิงอำนาจของฝ่ายชายาจากชนชั้นผู้มีอำนาจตำ่กว่า ที่ต่อสู้ช่วงชิงพื้นที่ทาง สังคมกับฝ่ายมเหสี ที่แสดงผ่านพิธีกรรม การชุมนุมของวงศาคณาญาติที่มาร่วมในงานอย่างคึกคัก รวมไปถึง “แขกผู้มีเกียรติ” ต่างครอบครัวและต่างชุมชน ที่จะได้มาสัมผัสถึงความมี “หน้าตา” ที่ยิ่งใหญ่และสมเกียรติใน งาน อารมณ์ความรู้สึกที่ยินดีผ่านความร่วมไม้ร่วมมือของคนในชุมชนระหว่างพิธีกรรม และการได้ร่วมปะทะ สังสันทน์ รับประทานอาหารร่วมกัน เหล่านี้คือสัญญะ หรือระบบสัญลักษณ์ อันเป็นภาพตัวแทนของระบบ ความสัมพันธ์ในชุมชน ที่สะท้อนผ่านอำนาจและการต่อสู้ช่วงชิงคำอธิบายถึงสถานภาพทางชั้นของตัวเอง โดย อาศัยพิธีการพลีกรรมสัตว์ใช้งานที่มีค่าในการเซ่นสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษ เพื่อแลกกับการคุ้มครองปกปัก รักษาชีวิตของสมาชิกใหม่ที่เป็นชายคนแรกของครอบครัวของผู้มีอำนาจ การต่อรองกับอำนาจศักดิ์สิทธิ์เหนือ ธรรมชาติผ่านพิธีตัดเกิด อันหมายถึงตัดระบบความสัมพันธ์เชิงอำนาจกับพ่อเกิดแม่เกิดในชาติภพก่อน ก่อนที่จะเปลี่ยนภพเปลี่ยนชาติมาเกิดในชาติใหม่นี้ รวมถึงการสร้างขวัญกำลังใจเพื่อให้หายจากการเจ็บไข้ได้ป่วย โดยการผลิตซ้ำกระบวนการต่อรอง ช่วงชิงความหมายและช่วงชิงพื้นที่ทางสังคมแห่งชนชั้น เพื่อให้เกิดดุลแห่ง อำนาจทางสังคมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขสืบไปth_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©CopeRights มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectพิธีกรรมการรับขวัญth_TH
dc.subjectคนลัวะth_TH
dc.subjectโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ตัวบทth_TH
dc.subjecttextual analysisth_TH
dc.subjectrecovery ritual ceremonyth_TH
dc.subjectStructural of Social Relationshipth_TH
dc.subjectLua ethnic groupth_TH
dc.titleการเปลี่ยนผ่านระหว่างช่วงชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะบ่อหลวง : การศึกษาเชิงคติชนวิทยาth_TH
dc.title.alternativeThe Self Transformation in Course of Life of The Lua Boloung Ethnicity group: A study in Folklore Approachth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover(ปก)507.27 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract(บทคัดย่อ)387.51 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)390.67 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1(บทที่1)377.47 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2(บทที่2)455.73 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3(บทที่3)473.95 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4(บทที่4)1.93 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5(บทที่5)799.45 kBAdobe PDFView/Open
Biobliograpsy.pdfBibliography(บรรณานุกรม)368.15 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.