Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/456
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมบัติ, สิงฆราช-
dc.contributor.authorSombat, Singkharat-
dc.date.accessioned2017-07-07T21:02:34Z-
dc.date.available2017-07-07T21:02:34Z-
dc.date.issued2016-12-01-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/456-
dc.descriptionงานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิจัยเพื่อ ยกระดับสินค้าชุมชนสู่แม่ฮ่องสอนไซเบอร์มอลล์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาสินค้าชุมชนของจังหวัดแม่ฮ่องสอนทางด้านการผลิต โดยได้เก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนใน 7 อำเภอ ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน รวม 44 กลุ่ม ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2555 ถึงมีนาคม พ.ศ. 2556 และใช้วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การวิเคราะห์ปัญหาด้านการผลิตโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทนของสินค้าชุมชน ผลการวิเคราะห์ ด้านการผลิต พบว่า ปัญหาที่กลุ่มผู้ผลิตส่วนใหญ่เผชิญ ได้แก่ ราคาวัตถุดิบสูง การขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน การขาดความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การขาดเทคโนโลยี ในการผลิตและการออกแบบ และการขาดช่างฝีมือดี สำหรับการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิต ของแต่ละกิจการพบว่า มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า โดยสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นในการผลิตจะมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าสินค้าที่ใช้ทุนเข้มข้น ดังนั้น สินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นจึงให้ผลตอบแทนจากการผลิตที่ต่ำกว่า ทั้งนี้ ผลจากการดำเนินงานของโครงการ ทำให้เกิดการจ้างงานในชุมชนเพิ่มขึ้น ลดปัญหาการอพยพ ย้ายถิ่นเพื่อไปทำงานในเมืองใหญ่ และไม่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.description.abstractThis research was a part of the research project of the community products enhancement to Mae Hong Son cyber-mall. The main purpose was to develop the community products of Mae Hong Son province, especially the production aspect. The data was gathered from 44 community enterprises groups in seven districts of Mae Hong Son province from April, 2012 to March, 2013. Economic research methods used in this research were production problem analysis by using Participatory Action Research (PAR) and the analysis of cost and returns of community products. The results of production perspective revealed that the problems faced by most producers were high price of materials and the lacks of circulating capital, product development knowledge, technologies in production and design processes, and skillful craftsmen. In terms of cost and benefit analysis, the results were different in each enterprise depending on the nature of the products. The costs of labor-intensive products were higher than capital-intensive products, so the returns of the prior were lower than the latter. The contributions of the project brought about the increase in community employment, the reduction of labor migration to work in the urban and no environmental impact.th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisher๋Journal of Agricultural Research And Extensionth_TH
dc.rights@CopyRight มหาวิทยาลัยแม่โจ้th_TH
dc.subjectสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชนth_TH
dc.subjectแม่ฮ่องสอนไซเบอร์มอลล์th_TH
dc.subjectตลาดสินค้าชุมชนออนไลน์th_TH
dc.subjectOTOP productsth_TH
dc.subjectcommunity enterprisesth_TH
dc.subjectMae Hong Son cyber-mallth_TH
dc.subjectonline community products marketth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ในมุมมองด้านการผลิตของสินค้าชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeEconomic Analysis in Production Aspect of Community Products in Mae Hong Son Provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mae Hong Son.pdf314.11 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.