Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/642
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิเชียรเขียว, รองศาสตราจารยอรุณรัตน-
dc.date.accessioned2017-12-07T07:17:30Z-
dc.date.available2017-12-07T07:17:30Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/642-
dc.descriptionThis project set was composed of nine indiviual research projects. The researchers were working with Nong Hoi Hmong villagers and Chao Mae Luang Upatham 2 School to examine and create a body of knowledge about the history, traditions, beliefs, roles of women, embroidery, folk medicine, music and sustainable tourism of the Hmong villagers. About 40 years ago , His Majesty the king visited Non Hoi village, a Hmong village not distance away from the city center. The King later graciously established a royal development center at the village in order to improve the livelihood of the villagers as well as tourism. Besides the highland agricultural activities and products for the royal project, tourists are able to enjoy cultural tourism activities of the Hmong ethnic group who has managed to preserve its culture, traditions, beliefs and lifestyle amid rapid changes in a gobalization age. Despite close proximity to the city, the ethnic culture has largely been maintained. Furthermore, the village is a natural attraction site with beautiful scenery that attracts a large number of tourists annually. Tourism also generates extra incomes to the villagers from selling farm products, handicrafts and other services. Presently, the villagers have been aware of and perceived positive impacts of tourism. They have participated in planning and developing tourism activities in their community, so that they can become more sustainable. The findings of knowledge from the research projects have been implemented by the villagers and the youths, particularly through the instructions of the village school teachers and through the integration of the finding into the lesson plans in every subject at the school.th_TH
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้ เปนชุดโครงการวิจัยประกอบดวยโครงการยอย ๙ โครงการนักวิจัยได้ร่วมมือ กับชาวบานในชุมชนหนองหอยและสถานศึกษาในชุมชนคือ โรงเรียนเจาแมหลวงอุปถัมภ ๒ เพื่อศึกษา และสรางองคความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร  ประเพณี ความเชื่อ บทบาทสตรีผาปก การแพทย พื้นบาน ดนตรี และการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของชาวมงบานหนองหอยซึ่งเปนพื้นที่วิจัย เมื่อ ๔๐ปที่ผาน มา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินมาที่บานหนองหอยซึ่งเปนหมูบานชาวมงที่ตั้งอยู ใกลเมืองเชียงใหม ตอมาพระองคโปรดให้จัดตั้งโครงการหลวงที่หมูบานแหงนี้เปนโครงการหลวงระยะ เริ่มตน โครงการหลวงไดชวยพัฒนาชาวมงใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้นทุกดานรวมทั้งดานการ ทองเที่ยว มีนักทองเที่ยวนิยมมาเยี่ยมชมการเกษตรบนพื้นที่สูงโครงการหลวง ชมผลงานและผลิตผล จากโครงการหลวง และนักทองเที่ยวยังได้ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไปดวย นักทองเที่ยวไดเยี่ยมหมูบาน ชาวมงซึ่งเปนชาติพันธุบนพื้นที่สงูกลุมหนงึ่ในเชียงใหมทอี่นุรักษวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ วิถีชีวิต ของตนไวได แม้จะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกระแส โลกาภิวัฒนก็ตาม นักทองเที่ยวสามารถสัมผัสได ถึงความเปนชาวมงที่ไมแตกตางจากชาวมงในโครงการหลวงอื่น ๆ ที่หางไกลออกไป นอกจากนี้ หมูบานหนองหอยยังเป็นแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติอีกดวย เพราะมีภูมิประเทศสวยงาม จึงมี นักทองเที่ยวเขามาเที่ยวที่บานหนองหอยจํานวนมากทกุป การทองเที่ยวทําใหชาวบานไดรับ ผลประโยชนรวมกัน เชน ขายผลิตผล ขายงานฝมือ ขายบริการ ปจจุบันชาวบานเริ่มตระหนักและรับรู ถึงผลดีที่เกดิจากการทองเที่ยว ชาวบานเริ่มเขามามีสวนรวมในการวางแผนและจะพัฒนาการ ทองเที่ยวในหมูบานให้ดีขึ้นหรือนําไปสูการทองเที่ยวอย่างยั่งยืนตอไป องคความรูหรือผลจากการวิจัย ชุดโครงการนี้ไดนํากลับไปสูชาวบานและเยาวชน โดยเฉพาะอยางยิ่งการถายทอดผานขบวนการเรียน การสอนของครู นกัวิจัยและครูอาจารยโรงเรียนเจาแม่หลวงอุปถัมภ ๒ ไดรวมกันนําองคความรู้จาก งานวิจัยไปจัดทําแผนการสอนของวิชาสาระการเรียนรูระดับประถมศกึษาทุกโครงการth_TH
dc.description.sponsorshipสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectโครงการหลวงth_TH
dc.subjectการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนพื้นที่สูงth_TH
dc.titleโครงการหลวง : การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนพื้นที่สูงth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)513.88 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัคย่อ)394.08 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)396.34 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter-1 (บทที่1)432.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter-2 (บทที่2)430.11 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter-3 (บทที่3)524.67 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter-4 (บทที่4)407.59 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter-5 (บทที่5)403.69 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุกรม)418.17 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)588.97 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.