Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/836
Title: การสํารวจสภาวะสุขาภิบาลอาหาร เพื่อจัดอันดับมาตรฐานรานอาหาร ในอําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม
Other Titles: Survey of Food Sanitation Conditions for Grading of Restaurant’s Standard in Hod District, Chiangmai Province
Authors: มณีผอง, สมเกียรติ์
Issue Date: 19-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจสภาวะสุขาภิบาลอาหาร การจัดอันดับมาตรฐานของรานอาหาร และ การจัดทําแผนปรับปรุงรานอาหารที่ไมไดมาตรฐานใหผานเกณฑตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร จากผูประกอบกิจการ รานอาหารในพื้นที่อําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม จํานวน 65 ราน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบสํารวจ และการตรวจวิเคราะหหาเชื้อโคลิฟอรมแบคทีเรียโดยใชชุดทดสอบแบคทีเรีย (SI-2) วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ เชิงพรรณนา ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิต คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดหมวดหมูขอมูล ผลการวิจัยพบวา ผูประกอบกิจการรานอาหารสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหารอยูในระดับสูง รอยละ 89.23 มีเจตคติเห็นดวยอยางยิ่งคือ ผูสัมผัสอาหารที่มีสุขวิทยาสวนบุคคลดี ทําใหอาหารที่ปรุงก็มีความสะอาด ปลอดภัย รอยละ 50.78 การปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสวนใหญผานเกณฑมาตรฐานในทุกๆ ดาน ยกเวนการตรวจสุขภาพประจําปของผูสัมผัสอาหารที่ไมผานเกณฑ การตรวจสอบความสะอาดของภาชนะใสอาหาร อาหาร และมือผูสัมผัสอาหาร พบวาภาชนะใสอาหาร มือผูสัมผัสอาหารสวนใหญผานเกณฑความสะอาด รอยละ 92.08 สวนตัวอยางอาหารประเภทผักสดผานเกณฑความสะอาดนอย รอยละ 63.08 การจัดอันดับมาตรฐานรานอาหารในอําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหมพบวา มีรานอาหารในระดับดีมาก ระดับดี ระดับพอใช และระดับปรับปรุง มีจํานวน 3 13 40 และ 9 ราน หรือรอยละ 4.61, 20.00, 61.54 และ 13.85 ตามลําดับ โดยหนวยงานภาครัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมีการจัดทําแผนงาน/โครงการที่จะพัฒนาและปรับปรุงราน อาหารขึ้น เพื่อเพิ่มความรู ความเขาใจ และทัศนคติที่ดี ตลอดจนการปฏิบัติตนใหถูกตองตามหลักสุขาภิบาลอาหาร แกผูประกอบกิจการรานอาหาร เปนการยกระดับคุณภาพมาตรฐานรานอาหารใหพัฒนากาวหนาสูระดับสากลตอไป
Description: The objectives of this study were to inspect food sanitation and to rank restaurant standards by doing a survey in 65 restaurants in order to set up a plan to improve food sanitation in Hod district to meet the government standards. Coliform Bacterial Testing (SI-2) was used during this survey. The data and analysis were based on the descriptive surveying and using statistics methods of frequency, percentage, arithmetic means, standard deviation and data classication. The study showed that 89.25% of restaurant owners had a high level of knowledge about the food sanitation. They agreed with the opinion that any people who are in contact with food should be aware of good sanitation. When they are preparing food for their consumers which will directly have an eff ect on the food sanitation. More than 50.78% of occupancies and restaurants conformed to the food standards and the regulations, except the case of employee’s annual health checking. The cleanliness of food, food containers, and the sanitation of 92.08% of the people incontact with food were passed the standards. But samples only 63.08% of the vegetables were passed the food cleanliness standard. The survey of Food Standards in Hod District, Chiang Mai showed the follwoing : that 3 restaurants (4.61%) were at the excellent level, 13 (20.00%) were fair, 40 (61.54%) were moderate, and 9 (13.85%) needed to be improve. According to this fact of the survey, government local divisions have been creating plans that will help to educate, improve and adjust restaurant owners’ attitude towards understanding food sanitation which can upgrade Thai food and restaurant to the international level.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/836
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
นายสมเกียรติ์ มณีผ่อง.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.