Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/867
Title: การพัฒนาระบบจัดการองค์ความรู้ดนตรีพื้นบ้านมังคละในพื้นที่ ภาคเหนือตอนล่าง เพื่อการส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย โดยใช้ออนโทโลยีและวิกิพีเดียเชิงความหมาย
Other Titles: DEVELOPMENT KNOWLEDGE MANAGEMENT SYSTEM FOR MANGKLA FOLK MUSIC IN LOWER NORTHERN AREA FOR PROMOTE AND DISTRIBUTE OF THAI CULTURE USING ONTOLOGY AND SEMANTIC WIKIPEDIA
Authors: สิทธิจักร, ปราโมทย
แสนชะนะ, วิไรวรรณ
Keywords: ระบบจัดการองคความรู
ภาคเหนือตอนลาง
ดนตรีพื้นบานมังคละ
ออนโทโลยี
วิกิพีเดียเชิงความหมาย
Knowledge Management System
Lower-Northern Region
Mangkla Folk Music
Semantic Wikipedia
Ontology
Issue Date: 23-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหารูปแบบฐานความรูออนโทโลยีเรื่องดนตรีพื้นบานมังคละในพื้นที่ภาคเหนือตอนลาง จากปราชญและผูเชี่ยวชาญ โดยใชเทคนิคการรวบรวมขอมูลแบบสรางเครือขายสโนวบอล และนำมาพัฒนาระบบจัดการ องคความรูดนตรีพื้นบานมังคละโดยใชออนโทโลยีและวิกิพีเดียเชิงความหมาย เพื่อใหประชาชนและนักเรียนในรายวิชา หลักสูตรทองถิ่นไดเขาถึงองคความรูผานเครือขายอินเทอรเน็ต จากนั้นจะทำการประเมินความพึงพอใจผูใชที่มีตอระบบจัดการ องคความรูดนตรีพื้นบานมังคละ ซึ่งผลจากการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาในครั้งนี้ สามารถสรุปสาระความรูที่คนพบ ไดแก 1) การหารูปแบบฐานความรูออนโทโลยีเรื่องดนตรีพื้นบานมังคละในพื้นที่ภาคเหนือตอนลาง จากปราชญผูเชี่ยวชาญและ ครูผูคุมวงดนตรี ที่มีประสบการณไมต่ำกวา 10 ป จำนวน 5 คน โดยใชเทคนิคการรวบรวมองคความรูแบบสรางเครือขาย สโนวบอล และทำการยืนยันความจำเปนของรายการองคความรูกับปราชญผูเชี่ยวชาญ ครูผูคุมวงดนตรี และนักเรียนที่เรียน ในหลักสูตรทองถิ่นในพื้นที่ภาคเหนือตอนลาง ที่ทำการเลือกแบบเจาะจงจำนวนทั้งสิ้น 52 คน แลวนำขอมูลมาแปลผลโดยใช คารอยละ ซึ่งพบวา สาระความรูที่ควรนำเสนอในฐานความรูจำแนกได 5 ดาน ไดแก ดานประวัติความเปนมา ดานเอกลักษณ เฉพาะตนในการละเลน ดานพิธีกรรมการไหวครู ดานคติความเชื่อ และดานรูปแบบการสรางเครือขายระหวางวงดนตรี และ รายละเอียดเนื้อหาของแตละประเด็นความรูทั้ง 5 ดานในภาพรวม กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวามีความจำเปนที่จะนำเสนอ ผานระบบจัดการฐานความรูอยูในระดับมากและมากที่สุด จากนั้นผูวิจัยนำผลสรุปความตองการและความจำเปนของรายการ องคความรูการละเลนดนตรีพื้นบานมังคละของผูใช มาสรางฐานความรูออนโทโลยีดวยโปรแกรม Hozo เพื่อสรางความสัมพันธ ของโหนดขอมูล ไดจำนวนทั้งสิ้น 51 โหนด จำแนกไดเปน 5 ระดับชั้นขอมูล และตรวจทานความถูกตองของโครงสราง ฐานความรูออนโทโลยีตามกฎ RDFs จากผูเชี่ยวชาญกลุมที่ใชรวบรวมองคความรูขางตน พบวา โครงสรางฐานความรูออนโทโลยี ที่สรางขึ้นมีความถูกตองรอยละ 99 2) การพัฒนาระบบจัดการองคความรูดนตรีพื้นบานมังคละโดยใชออนโทโลยีและวิกิพีเดีย เชิงความหมาย โดยใชภาษา PHP5 และไลบารี่ RAP API for PHP เปนสวนชวยติดตอเว็บวิกิพีเดียกับฐานความรูออนโทโลยี ดนตรีพื้นบานมังคละตามหลักการเชิงวัตถุ พบวาฟงกชันการทำงานของระบบจัดการองคความรูที่สอดคลองกับความตองการ ของผูใชที่ไดพัฒนาขึ้นประกอบดวย 4 สวน ไดแก สวนนำเขาโครงสรางออนโทโลยี สวนจัดการโครงสรางโหนดบนออนโทโลยี ใหเปนภาษาไทย สวนแมแบบกรอกและแสดงองคความรูบนวิกิพีเดียเชิงความหมาย และสวนกำหนดคำสั่งอินไลนคิวรี่ เพื่อรองรับการใหบริการสืบคนขอมูลเชิงความหมาย และ 3) การประเมินความพึงพอใจของผูใชที่มีตอระบบจัดการองคความรู ดนตรีพื้นบานมังคละ แลวนำขอมูลที่รวบรวมไดมาแปลผลดวยคารอยละ พบวาผูใชที่ทำการเลือกแบบเจาะจงในสถานะ ผูจัดการขอมูลและผูใชทั่วไปจำนวนทั้งสิ้น 100 คน มีความคิดเห็นวาประสิทธิภาพการทำงานของระบบในภาพรวมทั้ง 5 ดาน อยูในระดับดี
Description: This research aimed to find an ontological model of the knowledge base regarding Mangkla folk music featured in the Lower Northern Region from savants and experts. The data were collected based on Snowball Sampling Technique and developed into a Mangkla folk music knowledge management system using Ontology and Semantic Wikipedia to enable the public and local curriculum students to gain access to the body of knowledge via the Internet network. Satisfaction of the users towards the Mangkla folk music knowledge management system was then evaluated. The findings could be concluded as follows: 1) The ontological model of the knowledge base regarding Mangkla folk music in the Lower Northern Region was created based on the information from 5 experts and band leaders with 10 years of experience or more using Snowball Sampling Technique. The necessity of the Mangkla folk music knowledge inventory was checked and confirmed by the experts and band leaders together with 52 local curriculum students, from purposive sampling, in the Lower Northern Region. The data were then processed into percentage. It was found that there were 5 categories of knowledge that should be presented: history, performers’ idiosyncratic uniqueness, Wai-Kru ceremony, myths and beliefs, and band networking models. In general, the sample group was of the opinion that the contents of the 5 knowledge categories should be presented through the knowledge management system at the high and highest levels. Next, the researcher designed the ontological knowledge base from the data regarding the users’ needs and the necessity of the knowledge inventory of Mangkla folk music performance. The design employed Hozo program to create relationship among the 51 data nodes categorized into 5 data levels. The validity of the ontological knowledge-base structure was verified by the same group of experts and evaluated at 99 percent; 2) The development of the Mangkla folk music knowledge management system using Ontology and Semantic Wikipedia in PHP5 language and RAP: API for PHP library to help connect the Wikipedia web to the Mangkla folk music knowledge base according to the object-oriented principles revealed that the operation functions of the knowledge management system corresponding to the users’ needs comprised 4 parts: ontological structure input, Thai-language ontological node structure management, model of knowledge input and display on Semantic Wikipedia, and inline-query command supporting semantic search; and 3) The users’ satisfaction towards the Mangkla folk music knowledge management system was surveyed and the data were processed into percentage. It was found that the 100 users purposively selected from the data managers and general users were of the opinion that the efficiency of the system in the 5 categories was at the high level.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/867
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.