Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/880
Title: การสรางเครือขายสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเองในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบานซาง อำเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม
Other Titles: HEALTHY NETWORKING FOR SELF-RELIANCE IN PREVENTION AND CONTROL DENGUE HEMORRHAGIC FEVER OF BAN-SANG HEALTH PROMOTING HOSPITAL, MAE RIM DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCE
Authors: รัญเสวะ, ณฤชล
Keywords: เครือขายสุขภาพ
การพึ่งตนเอง
โรคไขเลือดออก
Healthy Networking
Self-reliance
DENGUE Hemorrhagic
Issue Date: 23-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษาบริบทชุมชนและพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบานซาง 2) เพื่อสรางเครือขายสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเอง ในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบานซาง 3) เพื่อสรางแนวทางการดำเนินกิจกรรม เครือขายสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเองในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบานซาง รูปแบบวิจัยใชการวิจัยแบบผสานวิธีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พื้นที่การวิจัย 3 หมูบาน ไดแก บานหวยน้ำริน บานซาง และบานตนขาม อำเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม กลุมตัวอยางคือ เจาหนาที่สาธารณสุข จำนวน 4 คน อาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมูบาน จำนวน 30 คน และประชาชนที่อยูในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล บานซาง 64 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 98 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมี 4 ชนิด ไดแก แบบสัมภาษณเชิงลึก แบบสังเกต แบบมีสวนรวม แบบสอบถาม และแนวทางการสนทนากลุม ขอมูลเชิงคุณภาพ ใชการเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ขอมูล เชิงปริมาณใชสถิติพรรณนา คือ คารอยละ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1. ชุมชนพื้นที่วิจัยทั้ง 3 แหง มีการระบาดของโรคไขเลือดออกสูงเปนอันดับที่ 3 ของจังหวัดเชียงใหม และมีพื้นที่ ระบาดระดับ A คือ มีผูปวยติดตอกันเกินกวา 4 สัปดาหใน 3 หมูบาน ซึ่งหมายถึง กระบวนการควบคุมการระบาดของโรค ที่ดำเนินการอยูนั้นไมไดผล หรือยังไมเขมแข็งพอ 2. การสรางเครือขายสุขภาพพอเพียงเพื่อการพึ่งตนเอง มี 3 ระยะคือ ระยะการวางแผนและวินิจฉัย ระยะดำเนิน กิจกรรมเครือขาย และระยะสรุปและประเมินผลเครือขาย มีกิจกรรมทั้งหมด 8 กิจกรรม ไดแก การเตรียมชุมชน การวิเคราะหสถานการณและกำหนดปญหา การพัฒนาศักยภาพแกนนำ การกำหนดกิจกรรมเครือขาย การประเมินสถานการณโรค และพฤติกรรมการปองกันและควบคุม การสะทอนคิดและนำเสนอขอมูล การสรางเครือขายสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเอง การหาความตรงและสะทอนคิด 3. แนวทางการดำเนินกิจกรรมเครือขายสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเอง ประกอบดวย 7 องคประกอบ ไดแก การรับรู รวมกัน การมีวิสัยทัศนรวมกัน การเกิดผลประโยชนและความสนใจรวมกัน การมีสวนรวม การเสริมสรางซึ่งกันและกัน การพึ่งพิงกัน และการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
Description: This study aimed to 1) study the community context and behavior for prevention and control of dengue fever of the people in charge of Ban Sang Health Promotion Hospital 2) to develope a self-reliance healthy network for prevention and control of dengue fever in the Ban Sang Health Promotion Hospital 3) to establish guidelines for a self-reliance healthy network activity for prevention and control in the Ban Sang Health Promotion Hospital. This study used combine methods which were quantitative and qualitative research. Research areas include 3 villages in the Mae Rim District. The sample was health officer for 4 people volunteer village health of 30 people and the people who were in charge of the Ban Sang Health Promotion hospital 64 people total of 98 people were used in the study and 4 methods of In-Depth interview, insights Participatory observation, questionnaires and focus group approach. Qualitative data were used descriptive writing Quantitative data Statistics, the percentage and standard deviation. The results were showed that 1. The outbreak of the dengue fever in 3 research communities were classified into the number 3 ranging of entire Chiang Mai area and its remains class A category as the local people were continuously sickness symptom longer than 4 weeks in 3 villages. This result shown that the control process in this area were ineffectiveness. 2. The established of self-reliance health network had 3 phases: planning and diagnosis, implementation network activity and summarize and evaluate the network. The activities including the preparation of 8 community. Situation analysis and problem determination Developing leadership potential The activity network Assessment and disease prevention and control behavior. Reflective thinking and presentation. Creating a healthy network to self-reliance. To find the straight and reflection. 3. Conduct activities to foster the self-sufficient health network consists of 7 elements such as common perception, common vision, mutual interests and benefits, stakeholders participation, complementary relationship, interdependent, interaction.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/880
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ณฤชล รัญเสวะ.pdf11.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.