Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/898
Title: การศึกษาลวดลายจกแม่แจ่มเพื่อประยุกต์ใช้ในการถักนิตติ้ง
Other Titles: THE STUDY OF CHOK MAE CHAEM’S PATTERNS FOR APPLYING KNITTED
Authors: อินภักดี, จินตนา
Keywords: การออกแบบ
ลวดลายผ้าจกแม่แจ่ม
การถักนิตติ้ง
Design
Chok Mae Chaem’s Patterns
Knitting
Issue Date: 25-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยเรื่อง การศึกษาลวดลายจกแม่แจ่มเพื่อประยุกต์ใช้ในการถักนิตติ้ง เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาลวดลายและเอกลักษณ์ของผ้าจกแม่แจ่ม อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 2) ออกแบบลวดลายผ้าถักนิตติ้ง ที่ประยุกต์มาจากลวดลายผ้าจกแม่แจ่ม อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ 3) ทดสอบแนวคิดผลิตภัณฑ์ผ้าถักนิตติ้งที่ได้พัฒนาขึ้น โดยศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย ประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) กลุ่มชาวบ้านไร่ หมู่ที่ 10 ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โดยเลือก กลมุ่ตวัอยา่งแบบเจาะจง เฉพาะผทู้ใี่หข้อ้มลูเกยี่วกบัลวดลายผา้จกแมแ่จม่ จำนวน 10 คน 2) กลมุ่ตวัแทนชาวบา้นชมุชนบา้นไร่ เพอื่คดัเลอืกลวดลายผา้จกทนี่ำมาประยกุตใ์ชใ้นการถกันติตงิ้ จำนวน 5 คน 3) ผเู้ชยี่วชาญในการประเมนิลวดลายการถกันติตงิ้ และคู่มือการถักนิตติ้ง จำนวน 3 คน 4) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองถักนิตติ้งจากคู่มือการถักนิตติ้ง จำนวน 12 คน 5) กลมุ่ผบู้รโิภคเปา้หมาย เพอื่ทดสอบแนวคดิผลติภณัฑด์ว้ยการสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 100 คน เครอื่งมอืในการวจิยั ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง แบบประเมินลวดลายการถักนิตติ้ง คู่มือการถักนิตติ้ง แบบประเมินคู่มือการถักนิตติ้ง และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ลวดลายผ้าจกแม่แจ่มแบ่งตามลักษณะลายได้ 4 ลาย ได้แก่ 1) ลวดลายในอุดมคติ 2) ลวดลายคนและสัตว์ 3) ลวดลายพรรณพฤกษา และ 4) ลวดลายเปรียบเทียบสิ่งของใกล้ตัว ลักษณะลายมี 2 รูปแบบ คือ แบบลายโคม และแบบลายกุม โดยเอกลักษณ์ของผ้าทอตีนจกแม่แจ่มมีโทนสีเหลือง สีแดง และสีส้ม ซึ่งลวดลายที่ได้ออกแบบ สำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในการถักนิตติ้ง ได้แก่ ลายกุดขอเบ็ด ลายเชียงแสนหงส์ปล่อย และลายขันเสี้ยนสำ ซึ่งเป็นรูปแบบ ลายโคม นำเฉพาะส่วนของลายโคมและลายขันมาทำการออกแบบลวดลาย เพื่อประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าพันคอ ถกันติตงิ้ โดยใชโ้ปรแกรมคอมพวิเตอรส์ำเรจ็รปูในการออกแบบ และทำลวดลายผา้จกบนผา้ถกันติตงิ้ดว้ยเทคนคิการปกัลงบนผา้ ตามผังลายที่ได้ออกแบบไว้ เมื่อนำผลิตภัณฑ์ผ้าพันคอถักนิตติ้งให้ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ประเมินลวดลายการถักนิตติ้งพบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 4.17 และการประเมินคู่มือการถักนิตติ้งมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 4.19 ซึ่งอยู่ในระดับมาก เมื่อนำคู่มือไปทดลองใช้กับนักเรียนโรงเรียนสันกำแพง ผลการประเมิน มีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 4.53 อยู่ในระดับมากที่สุด สำหรับการทดสอบแนวคิดผลิตภัณฑ์ด้วยการสอบถามความพึงพอใจ พบว่า ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายให้คะแนนเฉลี่ย ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์โดยรวมที่ 4.42 โดยอยู่ในระดับมาก ซึ่งลวดลายที่ผู้บริโภคให้ความพึงพอใจสูงที่สุด ได้แก่ ลายขันเสี้ยนสำ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.47 ลายเชียงแสนหงส์ปล่อย มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.42 และลายกุดขอเบ็ด มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.38 ตามลำดับ สรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์ผ้าพันคอถักนิตติ้งที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มตามแนวคิดเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ได้ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑท์กำหนดไว้คือ มีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวมมากกว่า ระดับ 4.00 และผู้บริโภคให้ข้อเสนอแนะว่า ควรใช้วัสดุในการถักที่หลากหลาย เช่น ไหมพรมเยื่อไผ่ เนื่องจากมีความนุ่ม เมื่อนำมาผลิตเป็นผ้าพันคอจะทำให้ผู้สวมใส่ ไม่เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ได้มากกว่าไหมพรมอะคริลิก
Description: The objectives of this research on the development of the Mae Chaem weaving motif designs for knitting application were 1) to examine the motif designs and identity of Mae Chaem hand-woven cotton in Mae Chaem District, Chiang Mai Province 2) to design the knitting designs based on the motif designs in order to add value to the knitting work according to the creative economy, and 3) to test the knitting products by investigating levels of satisfaction of the target consumers. The population and sample groups include 1) ten villagers from Ban Rai Village 10, Tambon Tha Pha, Mae Chaem District, by using the purposive sampling method to select those who could provide the information on the motif weaving patterns; 2) five village representatives to select the folk designs to be applied for knitting; 3) three experts to evaluate the knitting designs and the knitting manual; 4) twelve target members for the knitting experiment from the knitting manual; and 5) 100 target consumers for testing the knitting products. The research instruments were a semi-structured interview, a knitting design assessment, a knitting manual, a knitting manual assessment and a questionnaire. The quantitative data were statistically analyzed for percentage, mean, and standard deviation and the content analysis method was used to analyze the qualitative data. The analysis results revealed that the Mae Chaem designs are classified into four categories, namely idealistic, man and animal, flower, and daily-used utensil. There are two design aspects: lantern and coop. The identity of the weaving designs is in the shades of yellow, red and orange. The designs applied for knitting were Kut Khor Bet, Chiang Saen Hong Ploy, and Khan Sian Sam. The designs were of a lantern, but only its body and base were utilized to apply for the development of the knitted scarves by using a packaged computer program to design. Knitting patterns were printed on and embroidered. When the knitted scarves were assessed by the three experts, the result was found that the average scores were 4.17, and the knitting manual assessed it was found that the average score were 4.19, at a high level. When the experimental manual was implemented and assessed by students at San Kam Phaeng School, the average scores were 4.53, at the highest level. When the products were tested with the target consumers, the average scores of their satisfaction level were 4.42, at a high level. The designs with which they were most satisfied, ranked from high to low, were Khan Sian Sam, with the average scores of 4.47; Chiang Saen Hong Ploy, with the average scores of 4.42; and Kut Khor Bet, with the average scores of 4.38 respectively. Conclude that knitted scarf products can add value to the knitting work according to the creative economy. Which is based defined criteria it was found that the average scores were more 4.00. According from the results, the consumer suggested that knitting materials should be diverse. For instance, bamboo tissue-based wool should be used to make scarves since it does not irritate the skin and can add more value to the products than acrylic wool.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/898
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
จินตนา อินภักดี.pdf49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.