Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/908
Title: การปรับตัวสู่วัฒนธรรมไทยผ่านการทำกิจกรรมนอกเหนือหลักสูตร:กรณีศึกษาของนักศึกษาแลกเปลี่ยน ณ สถาบันการศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Other Titles: THAI CULTURAL ASSIMILATION THROUGH EXTRA-CURRICULAR ACTIVITIES: A CASE STUDY OF EXCHANGE STUDENTS AT THE INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES, RAMKHAMHAENG UNIVERSITY
Authors: Chaiyasat, Chatchawan
Keywords: Cultural Assimilation
Exchange Students
Extra-curricular Activities
การปรับตัวสูวัฒนธรรม
นักเรียนแลกเปลี่ยน
กิจกรรมนอกเหนือหลักสูตร
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: นักศึกษานานาชาติที่เพิ่งเดินทางเขามาเรียนในหลักสูตรแลกเปลี่ยนระหวางประเทศในแตละภาคการศึกษา ในตางประเทศนั้นจะเผชิญกับความยากลำบากในการปรับตัว การศึกษานี้มีจุดประสงคเพื่อสำรวจและวิเคราะหการรับรูของ นกัศกึษาแลกเปลี่ยนชาวเยอรมันที่มีตอวัฒนธรรม สังคม วิถีชีวิตของคนไทย และการรับรูที่มีตอปจจัยของความยากลำบาก ที่นักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวเยอรมันไดเผชิญระหวางการเขารวมกิจกรรมและพิธีกรรมที่เกี่ยวของกับศาสนาพุทธที่สถานธรรม ในพื้นที่สังคมชนบท นักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวเยอรมัน จำนวน 9 คน ไดเขารวมการวิจัยในครั้งนี้ ขอมูลถูกรวบรวมโดยใชวิธี วิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเครื่องมือวิจัยประกอบดวย คำถามปลายเปด คำถามเพื่อใชในการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง และรายงาน การเขียนบันทึก การวิเคราะหขอมูลใชหลักการวิเคราะหแกนสาระ และโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใชหลักการวิเคราะหขอมูล เชิงคุณภาพที่เรียกวาเอ็นวิโวสิบ (NVivo 10) ผลจากการศึกษาพบวา การใหนักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวเยอรมันไดมีโอกาสสัมผัส กิจกรรมนอกเหนือหลักสูตรดังกลาว สงผลเชิงบวกตอความเขาใจและการรับรูที่มีตอวัฒนธรรม สังคม และวิถีชีวิตของคนไทย อยางไรก็ตามมีปจจัยของความยากลำบากสองดานที่เปนสาเหตุทำใหนักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวเยอรมันมีความรูสึกอึดอัด ระหวางการเขารวมกิจกรรมและพิธีกรรมที่เกี่ยวของกับศาสนาพุทธ ซึ่งไดแกอุปสรรคทางดานภาษาและการฝกปฏิบัติการ ทำวัตรเชา ผลการวิจัยครั้งนี้นอกจากจะสงผลกระทบเชิงบวกตอการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาแลกเปลี่ยน ชาวเยอรมันในประเทศไทยแลวยังเปนประโยชนตอสำนักงานฝายวิเทศสัมพันธในสถาบันอุดมศึกษาเพื่ออำนวยความสะดวก และริเริ่มดำเนินการจัดกิจกรรมนอกเหนือหลักสูตร เพื่อสรางโอกาสใหนักศึกษาชาวตางชาติไดเขาใจวัฒนธรรม สังคม และ คนไทยไดอยางลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นอีกดวย
Description: Newly arrived international students who are participating in their semester aboard may face a lot of difficulties in adapting to the new culture. This study aims at exploring and analyzing German exchange students’ perceptions towards Thai culture, society, people’s way of life and their perception towards the difficulty factors which they encountered during participating in Buddhist-related activities and ceremonies at a rural Dhamma Center. A total of nine German exchange students participated in this study. Data were gathered by means of a qualitative approach including open-ended questions, semi-structured interviews, and reflective reports. The thematic analysis techniques and qualitative data analysis (QDA) software package (NVivo 10) was employed to analyze the data. The finding showed that exposure to such extra-curricular activities had a positive impact on German exchange students’ understanding and perception towards Thai culture, society, and people’s way of life. However, there were two factors which caused exchange students to feel uncomfortable whilst participating in Buddhist-related activities and ceremonies: the Thai language barrier and practicing of the morning chant. These extra- curricular activities appeared to have beneficial effects on German exchange students regarding their cultural adjustment in Thailand. The results of this study might benefit the International Affairs Offices in all Thai tertiary educational institutions in order to enhance opportunities for international students to understand more comprehensively Thai culture, society, and its people.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/908
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatchawan Chaiyasat.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.