Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/912
Title: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการศึกษา ในด้านการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในพื้นที่เทศบาลเมือง เมืองแกนพัฒนา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: APPLICATION OF INFORMATION TECHNOLOGY FOR STUDYING CONSERVATION OF LOCAL WISDOMS IN THE AREA OF MUANG KAEN PATTANA MUNICIPALITY, MAE TAENG DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCE
Authors: รัตนชูโชค, พรวนา
Keywords: เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการศึกษา
การอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น
Information Technology in Education
Local Wisdom Preservation
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยเรื่อง การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการศึกษาในดานการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น ในพื้นที่ เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา อำเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) รวบรวมขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น (2) สรางสื่อการเรียนรูดานการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น โดยกระบวนการมีสวนรวมกับนักเรียนในชุมชน และผูวิจัย (3) เผยแพรสื่อการเรียนรูบนเครือขายอินเทอรเน็ตใหแกนักเรียนในชุมชน และ (4) ประเมินผลสัมฤทธิ์ของสื่อการเรียนรู ดานการอนรุกัษภมูปิญญาทองถนิ่ กลมุตวัอยางทใี่ชในการศกึษาครง้ัน ี้ไดแก กลมุผใูหขอมลูดานภมูปิญญาทองถนิ่ จำนวน 19 คน กลุมผูเสนอแนะรูปแบบวิธีการจัดเก็บขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น และการสรางสื่อดานภูมิปญญาทองถิ่น จำนวน 22 คน และ กลมุตวัอยางสำหรบัการประเมนิการใชงานระบบ และประเมนิคณุภาพสอื่ จำนวน 53 คน เกบ็รวบรวมขอมลูดวยการสมัภาษณ การจัดเวที ประเมินการใชงานระบบดวยแบบสอบถาม และแบบทดสอบกอนเรียน หลังเรียน วิเคราะหขอมูลดวยสถิติความถี่ รอยละ เปรียบเทียบความแตกตางของคาคะแนนความรูดวยการทดสอบคา t-test ซึ่งงานวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลภูมิปญญา ภายในทองถิ่น ประกอบดวย ภูมิปญญาการเพาะเห็ดโคนนอย ภูมิปญญาการจัดทำโคมไฟ 700 ป ภูมิปญญากังหันวิดน้ำ ภูมิปญญาดานพิธีกรรมพื้นบานลานนา และการเขียนตัวหนังสือเมือง ภูมิปญญาชางกระดาษสา ภูมิปญญาการตีมีดภูมิปญญา การจอตอง และดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศสำหรับการศึกษาเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลภูมิปญญาทองถิ่นไวเปนระบบ สารสนเทศ และจัดทำสื่อการเรียนรูดานการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น ซึ่งสามารถนำไปใชประโยชนในการจัดการเรียนรู สำหรับนักเรียนในชุมชน และเผยแพรระบบสารสนเทศสำหรับการศึกษาในดานการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่นบนเครือขาย อินเทอรเน็ต โดยการมีสวนรวมกับชุมชนเปนการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่นแบบยั่งยืน ผลการวิจัยไดสอบถามความพึงพอใจการใชงานระบบของกลุมตัวอยาง จำนวน 2 โรงเรียน และกลุมผูใหขอมูล ภูมิปญญา พบวา ผูใชมีระดับความพึงพอใจอยูในเกณฑมาก และการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ของนกัเรยีนทง้ั 2 โรงเรยีน พบวา คะแนนเฉลย่ีหลงัเรยีนเพม่ิขน้ึจากคะแนนกอนเรยีน คดิเปนรอยละ 57.27 ผลการเปรยีบเทยีบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียน และหลังเรียน ปรากฏวาคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนแบบทดสอบ กอนเรียน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Description: The research on the topic of “Application of Information Technology for Studying Conservation of Local Wisdoms in the Area of Muang Kaen Pattana Municipality, Mae Taeng District, Chiang Mai Province” was based on these following objectives: (1) to collect local wisdom data; (2) to create some learning materials regarding conservation of local wisdoms via the participatory process involving the community’s students and the researchers; (3) to distribute the learning materials via the internet for the community’s students; and (4) to assess achievements from utilizing the learning materials. The sample group used in this study comprised the group of 19 local wisdom informants. The group of 22 system model and local wisdom media model designers, and the group of 53 system evaluators. Data were collected using interviews, public discussion forums, questionnaires, and the pre-test and post-test technique. After that, the collected data were analyzed using statistical analysis, such as frequency, percentage, and t-test. The research collected data regarding local wisdoms in the area, which included the wisdoms about Kone Noi mushroom (Coprinus fimetarrius) cultivation, the traditional 700-year lamp event, traditional waterwheels, traditional Lanna rites, calligraphy with traditional Northern texts, elephant sculpture made by mulberry paper, knife making, and Jor Tong (banana leaves) handicraft. In addition, the research created an information system for gathering the local wisdom data into the system. The learning materials regarding local wisdom conservation were developed to be used for managing learning of the community’s students. The information system helped disseminate the knowledge derived from studying the participatory conservation of local wisdoms via the internet. This is considered an efficient approach for sustainable conservation of local wisdoms. The research also conducted a survey to assess satisfaction of the target groups in 2 schools and the group of local wisdom informants toward the information system that they had used. According to the survey results, it was found that the users had a high level of satisfaction. Furthermore, the study results regarding research utilization based on pre-test and post-test achievements of the students from both schools revealed that their mean post-test score after learning with the materials increased from their pre-test score for 57.27%. The student also revealed the students progress at the significance level of 0.05 The student score obtained from the post-test were higher that those from the pre-test.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/912
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
พรวนา รัตนชูโชค.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.