Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/924
Title: ภูมิปัญญาท้องถิ่นของการรักษาโรคแบบพื้นบ้านในจังหวัดพิษณุโลก
Other Titles: LOCAL WISDOM OF FOLK DISEASE PRESERVATION IN PHITSANULOK PROVINCE
Authors: กาญจนศิริ, วิเรขา
สุวรรณศักดิ์, เติมศักดิ์
เลิศรักษ์ทวีกุล, ชัยพัชร
สะและน้อย, กรรณสิทธิ์
Keywords: ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สมุนไพรพื้นบ้าน
Folk Wisdom
Folk Medicinal Herb
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวจิัยเรื่องนมี้วีัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการได้รับและสะสมความรู็ การจัดเก็บความรู้ ภมูิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาโรค โดยใช้สมุนไพรของชาวบ้านในจังหวัดพิษณุโลก 2) ศึกษาการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาโรคโดยใช้สมุนไพร ของชาวบ้านในจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง คือ ชาวบ้านที่เคยรักษาแบบพื้นบ้านโดยใช้สมุนไพรในจังหวัดพิษณุโลก ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จํานวน 16 คน ส่วนใหญ่อยู่ในอําเภอเมือง ร้อยละ 37.50 นอกนั้นอยู่ในอําเภอวังทอง อําเภอพรหมพิราม อําเภอบางระกํา อําเภอบางกระทุ่ม และอําเภอนครไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องของเนื้อหา 0.67-1.00 ผลการวิจัย พบว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีการใช้สมุนไพรรักษาโรค ได้แก่ โรคปวดท้อง ท้องอืด แน่นท้อง ขับลม เคลือบแผลในกระเพาะ ปวดฟัน แก้ไอ เจ็บคอ โรคภมูิแพ้ วิงเวียนศีรษะ ปวดท้องประจําเดือน โรคผิวหนัง แผลพุพอง เป็นหนอง ผื่นคันตามแขนตามคอ โรคตาแดง โรคไขมันในเส้นเลือดและในตับสูง เบาหวาน อาการปวดเมื่อย ปวดขา และชํ้าใน โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับการถ่ายทอดและสะสมภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้สมุนไพรรักษาโรคจากปราชญ์ชาวบ้านคนก่อน และจดจําได่ ร้อยละ 75.00 และส่วนที่น้อยที่สุด คือ การได้รับและสะสมความรู้จากการอ่านหนังสือ การค้นคว้า และทดลองใช้ สมุนไพรเองจนจดจําได้ ร้อยละ 6.25 กลุ่มมตัวอย่างทุกคนจัดเก็บความรู้ได้โดยการจํา ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนด้านการถ่ายทอดความรู้ พบว่า ส่วนใหญ่สอนโดยให้ผู้เรียนดูตัวอย่างจากการรักษาและให้จดจําเอง ร้อยละ 68.75 และ ไม่ได้ถ่ายทอดให้ผู้ใดเลย ร้อยละ 6.25
Description: The objectives of the research were 1) to study acknowledgement and collection, knowledge management of folk wisdom about some villagers’ medicinal herbs in Phitsanulok province 2) to study knowledge transfer of folk wisdom about some villagers’ medicinal herbs in Phitsanulok province. The samples were 16 villagers using folk medicinal herbs in Phitsanulok province by purposing sampling. There were 16 persons inhabited in Maung District (37.50%). The others inhabited in Wangthong, Prompiram, Bangrakam, Bangkratum and Nakornthai District. Qualified structural interview form was the research tool (IOC = 0.67-1). The results found that the folk wisdom was the folk treatment with medicinal herbs, for instance, abdominal pain, abdominal distension, carminative, coating peptic ulcer, toothache, cough, sore throat, allergy, dizziness, dysmenorrhea, skin diseases, itching rash on arm and neck, conjunctivitis, hyperlipidemia, fatty liver disease, diabetes, miltitus myalgia, leg pain and bruises. Acknowledgement and collection of this folk wisdom was mainly conveyed and remembered from villagers philosopher (75.00%). At least was from reading textbook and self-studying (6.25%). This knowledge management by memory it wasn’t record in textbook. The main medicinal herb knowledge transfer by treatment demonstration and self-recognition (68.75%) and was not transfer of any (6.25%).
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/924
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.