Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/966
Title: การศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของนำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก
Other Titles: Study on Suitable Content of Bio-extracted Solution from Organic Residue on Vegetables Growth
Authors: อัฉริยมนตรี, อัตถ์
สุทธิภาศิลป์, ดร.รัชนีพร
วิชิต, นริศรา
Keywords: น้ำหมักชีวภาพ
พืชผัก
เวทีชาวบ้าน
bio-extract solution
public community
vegetable
Issue Date: 28-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณธาตุอาหารและจูลินทรีย์ในน้ำหมักชีวภาพ และผลของอัตราส่วนการใช้น้ำหมักชีวภาพและความถี่ในการฉีดพ่นต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก โดยเริ่มจากการผลิตน้ำหมักชีวภาพจากเศษพืชผัก ผลไม้น้ำนมดิบ กากน้าตาล รำละเอียด และหัวเชื้อจุลินทรีย์ (MMO) ในระบบกวนเติมอากาศเป็นเวลา 2 เดือน จึงได้น้ำหมักชีวภาพที่สามารถนำไปใช้ได้ ซึ่งมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 3.77 มีค่าการนำไฟฟ้า (EC) เท่ากับ 18.7 เดซิซีเมนต่อเมตรและมีธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม แคลเซียม และกามะถัน เท่ากับ 0.13, 0.08, 0.57, 0.11 0.12 และ 0.55 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ตามลำดับ ซึ่งค่าดังกล่าวอยู่ในช่วงมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ขนาดน้ำที่กรมวิชาการเกษตรได้กำหนด จึงสามารถนำไปใช้ได้ในการทำฟาร์มเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ได้หาปริมาณการใช้นาหมักชีวภาพที่เหมาะสมต่อพืชผักทั้ง 4 ชนิด ได้แก่ มะเขือเทศ ผักกาดกวางตุ้งฮ่องเต้ ผักคะนายอด และผักสลัดคอส โดยวางแผนการทดลองแบบ7x3 Factorial in CRD 3 ซ้ำ มี 2 ปัจจัย คือ อัตราส่วนที่ฉีดพ่น 7 กรรมวิธี ได้แก่ 0, 10, 20, 25, 30, 35 และ 40 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร และความถี่ในการฉีดพ่น 3 ระดับ ได้แก่ 3, 5 และ 7 วันต่อครั้ง โดยเก็บข้อมูล ได้แก่ ความสูง ความกว้างยาวในจำนวนดอก จำนวนผล และน้ำหนักผล ผลการวายพบว่า อัตราส่วนของน้ำหมักป้าภาพที่ 40 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ให้ผลผลิตต่อการเจริญเติบเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศ ผักคะน้ายอด และผักสลัดคอส อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดยให้น้ำหนักผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 470.00, 169. 11 และ 233.33 กรัมต่อต้นตามลำดับ และให้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.8330, 0.9034 และ 0.7597 ตามลำดับ ส่วนในผักกาดกวางตุ้งฮ่องเต้ พบว่า อัตราส่วนที่ 30 ซีซี ต่อน้ำ 30 ลิตรให้ผลดีที่สุด โดยให้น้ำหนักผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 147.78 กรัมต่อต้น ซึ่งให้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.7742 ส่วนในด้านความถี่ของการฉีดพ้นมีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดกวางตุ้งฮ่องเต้ และผักคะน้ายอด อย่างมีนัยสำคัญยิ่ง ภายหลังสิ้นสุดการทดลองแล้วได้จัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และเวทีชาวบ้าน พบว่า กลุ่มผู้นำเกษตรกรเกือบทั้งหมดได้ทำและใช้น้ำหมักชีวภาพแล้วได้ผลดี สามารถนาไปผลิตใช้เองได้ เป็นการลดต้นทุนในการใช้ปุ๋ยเคมี และนำเศษวัสดุอินทรีย์ที่ทิ้งแล้วกลับมา ใช้ใหม่ได้
Description: The objective of this research was to study on nutrient availability and number of effective micro-organism and study relationship between suitable content of bio-extracted and number of application days on vegetables growth and yield. Bio-extracted solution made from vegetable and fruit residue, fresh milk, black-strap molasses, rice bran and effective micro-organism solution (MMO) mixed with air pump and manual rotation every day until to 2 month that prompts to use. The concentration of plant nutrient in bio-extract solution each pH, EC, nitrogen (N), phosphorus (P), potassium (K), calcium (Ca) and magnesium (Mg) and sulfer (S) was 3.77, 18.7 dc/m., 0.13, 0.08, 0.57, 0.11, 0.12 􀄒􀃺􀄅 0.55 % weight respectively. However, the nutrients analysis in organic bio-extract was founded in the range of organic liquid fertilizer standard in Department of Agriculture. So, we can use in organic farming. The statistical model was 7×3 factorial in randomized complete block design and 3 replication comprised of two factors as spray rate were 0, 10, 20, 25, 30, 35 and 40 cc./20 liter of water and frequency were 3, 5 and 7 day/application. The collecting data as height, leaf length, leaf wide, number of flower, number of fruits and fruit weight. The result found that bio-extract solution at 40 cc/20 liter of water gave the best result in significantly different on growth and yield. In term of weight of tomato (Lycopesicon esculentum var. seeda), Chinese kale (Brassica oleracea var. alboglabra) and cos lettuce (Lactuca sativa var. Longifolla) were 470.00, 169.11 and 233.33 g/plant, respectively, correlation coefficient was 0.8330, 0.9034 and 0.7597, respectively. For pak choi (Brassica chinensis var. chinensis), the result revealed that bio-extract solution at 30 cc/20 liter of water gave the best result in significantly different. In term of weight was 147.78 g/plant, correlation coefficient was 0.7742. In addition, frequency for application was effect on growth and yield for pak choi and Chinese kale in significantly different. After finish the experiment, we were setting up a workshop and public community learning exchange together. And we were founded the most of leader farmers produce and use bio-extract solution with very positive results include that it reduces the need for money to buy chemical fertilizer and recycles local waste materials.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/966
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.