กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1119
ชื่อเรื่อง: กลยุทธ์การบริหารผ้าไหมลายสันกำแพงเพื่อพัฒนาสู่การคุ้มครองเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยมีส่วนร่วมของชุมชน อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Strategic Administration of Sankamphaeng Silk to Improve the protection with a Geographical Indications by community participation,Sankamphaeng, Chiang-Mai Province.
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: พลอาจ, เพียงตะวัน
Pol-ard, Piangtawan
คำสำคัญ: สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
Geographical Indications
ทรัพย์สินทางปัญญา
ศิลปะการทอผ้าไหม
วันที่เผยแพร่: 30-มีน-2016
สำนักพิมพ์: Chiang Mai Rajabhat University
บทคัดย่อ: Abstract Integrated Research, Development and Empowerment strategy, product management silk coping. In order to improve the protection of a geographical indication. The involvement of the community. San Kamphaeng Chiangmai Province A research and development program that forms the research was conducted with the participation of members of the academic community is an important way. With the goal of developing a model for managing product silk coping on geographical indication. Community coping To be ready and able to offer products to a wider market. The findings are important Information on community cultural context, silk production Kamphaeng San Kamphaeng district, presumably as a weaving community in the past, but in San Kamphaeng district. Are skilled in weaving with a native. Inherited from ancestral times For weaving the interviews found. Is not popular among the locals in general. Since a position of the highest. And originally woven together in the court. Or, for more than a large shop with a reputation of third shop is a shop Shinawatra painstaking charity. Prom Shop and Win All three stores are located in close proximity. Patterns and textures of silk weaving out is not much different. Woven fabrics in those days A silk patterned specifically. Striped and plaid sarong cloth In the past I have used silk for very expensive. Highlights of silk is coping Specific patterns of coping, which has developed a "pattern seven days" to wear more. Most customers are locals come to buy clothes, and later with the provinces to come together. Later on, various news agencies has led to packed itineraries that explore coping watch woven silk. จ The findings of the guideline development process silk coping a geographical indication coping with the community. 1. Development of silk coping. Silk is featured coping to determine the identity of the community, and promote development in the economic dimension. As a guide to optimize the production of a standardized product that is unique, specialAnd that happens in one area only. This is consistent with wisdom passed down and used for local products and adding value. Silk striped silk used as a coping wisdom of the community with distinction and received attention from the market due to its unique design patterns. The effort to bring the silk coping registered geographical indication. 2. Implementation of the guidelines for the preparation of its geographical indication. From workshops to promote awareness about the registered geographical indication the group is involved in the registration of silk goods is coping geographical indication. The system protected geographical indication products and the benefit of local communities. The process of preparing the registration of geographical indication. And the feasibility and development of the leading silk coping registered geographical indication. The community has since developed guidelines for the preparation of planting mulberry trees to feed silkworms to make silk fiber dyeing, weaving, as well as the development of products made from silk coping. It is found that there is a process and not ready to be developed. Which still need to learn how to weave silk fabric and a unique selection of silk to rest. 3. Evaluation of Product Development, silk products set the standard for coping. Brainstorming in the product development community has developed coping silk product sample bags and cushion doll prototype products. Examples prototypes created it to be comparable to similar products, the standards community.
รายละเอียด: บทคัดย่อ การวิจัยแบบบูรณาการเพื อการพัฒนาและเพิ มขีดความสามารถการกาหนดกลยุทธ์การ ํ บริหารผลิตภัณฑ์ผ้าไหมลายสันกาแพง เพื อพัฒนาสู ํ ่การคุ้มครองเป็ นสิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ โดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน อําเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม ํ ่ เป็ นโครงการวิจัยและพัฒนาหนึ งที ใช้ รูปแบบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนักวิชาการเป็ น ั แบบวิธีสําคัญ โดยมีเป้ าหมายพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ผ้าไหมลายสันกาแพงต ํ ่อ สิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ ของชุมชนสันกาแพง ํ ให้มีความพร้อมจนสามารถนําเสนอผลิตภัณฑ์สู่ตลาด ที กว้างออกไป ผลการวิจัยที สําคัญ ได้ข้อมูลบริบทชุมชนด้านวัฒนธรรมการผลิตผ้าไหมลายสันกาแพง ํ สันนิษฐานวา อําเภอสันก ่ าแพงเป็ นแหล ํ ่งที มีการทอผ้ามาแต่ครั*งอดีต ในชุมชนต่างๆ ในอําเภอสัน กาแพง ล้วนมีฝี มือในการทอผ้าด้วยก ํ ี พื*นเมือง สืบทอดกนมาตั ั *งแต่ครั*งบรรพบุรุษ สําหรับการทอผ้า ไหมนั*นจากการสัมภาษณ์พบวา ไม ่ ่เป็ นที นิยมในกลุ่มชาวบ้านโดยทัวไป เนื องจากเป็ นเครื องแสดง ฐานะของคนชั*นสูง และแต่เดิมทอกนในราชสํานัก หรือในคุ้มต ั ่างๆ มากกวา โดยมีร้านขนาดใหญ ่ ่ที มีชื อเสียง มีจํานวน 3 ร้าน คือ ร้านชินวัตร ร้านเพียรกุศล และร้านพรหมชนะ ทั*งสามร้านตั*งอยูใน่ บริเวณใกล้กน รูปแบบและลวดลายของผ้าไหมที ทอออกมาจึงไม ั ่มีความแตกต่างกนมากนัก ผ้าที ั ทอในสมัยนั*น ได้มีการทอผ้าไหมที มีลวดลายเฉพาะคือ ลายโสร่งและลายตารางผ้าขาวม้า ในอดีต ไม่ค่อยมีคนนิยมใช้ผ้าไหมมากนักเพราะว่าราคาแพง จุดเด่นของผ้าไหมสันกาแพงคือ ลวดลาย ํ เฉพาะของสันกาแพงซึ งต ํ ่อมาได้มีการพัฒนามาเป็ น “ลาย 7 วัน” ทําให้นิยมสวมใส่กนมากขึ ั *น ส่วนใหญ่ลูกค้าที มาซื*อผ้าเป็ นคนในท้องถิ นและต่อมาก็มีคนต่างจังหวัดเดินทางมาซื*อกนมากขึ ั *น ต่อมาเมื อบริษัทนําเที ยวต่างๆ ทราบข่าว จึงมีการนําไปบรรจุเป็ นโปรแกรมท่องเที ยวว่าเที ยวสัน กาแพงชมทอผ้าไหม ํ ผลการวิจัยด้านการกาหนดแนวทางกระบวนการพัฒนาผ้าไหมลายสันก ํ าแพงเป็ นสิ ํ งบ่งชี* ทางภูมิศาสตร์ร่วมกบชุมชนสันก ั าแพง ดังนี ํ * ค 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมลายสันกําแพง ผ้าไหมลายสันกาแพงเป็ นจุดเด ํ ่นเพื อ กาหนดเป็ นอัตลักษณ์ของชุมชนและส ํ ่งเสริมการพัฒนาในมิติด้านเศรษฐกิจ เป็ นแนวทางในการ เพิ มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานเป็ นสินค้าที มีความเป็ นเอกลักษณ์พิเศษ และเป็ น สินค้าที เกิดขึ*นในพื*นที หนึ งเท่านั*น ซึ งมีความสอดคล้องกบภูมิปัญญาที สืบทอดก ั นมาในท้องถิ ั น นํามาใช้ประโยชน์และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และเพิ มมูลค่า ผ้าไหมลายสันกาแพงเป็ นผ้าไหมที ใช้ภูมิปัญญาของชุมชนที มีความโดดเด ํ ่นและได้รับ ความสนใจจากตลาดเนื องจากมีการออกแบบลวดลายที โดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ จึงมีความพยายาม ในการนําผ้าไหมลายสันกาแพงขึ ํ *นทะเบียนสิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ 2. การดําเนินการกําหนดแนวทางการจัดทําสินค้าสิงบ่งชี+ทางภูมิศาสตร์ จากการประชุม เชิงปฏิบัติการส่งเสริมให้ความรู้เกี ยวกบการขึ ั *นทะเบียนสิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ให้แก่กลุ่มที มีส่วน เก ี ยวข้องในการขึ*นทะเบียนผ้าไหมลายสันกาแพงเป็ นสินค้าสิ ํ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ ในเรื องระบบ คุ้มครองสินค้าสิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์และประโยชน์ของชุมชนท้องถิ น ขั*นตอนการเตรียมการขึ*น ทะเบียนสินค้าสิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ และความเป็ นไปได้และแนวทางการพัฒนาในการนําผ้าไหม ลายสันกาแพงขึ ํ *นทะเบียนสิ งบ่งชี*ทางภูมิศาสตร์ ชุมชนมีการกาหนดแนวทางพัฒนาตั ํ *งแต่การเตรียมพื*นที ปลูกต้นหม่อนเพื อเลี*ยงตัวไหม การทําไยไหม การย้อมสี การทอผ้าตลอดจนการพัฒนาสินค้าที ได้จากผ้าไหมลายสันกาแพง ซึ ง ํ พบว่ายังมีกระบวนการที ไม่พร้อมและต้องทําการพัฒนา ซึ งยังคงต้องเรียนรู้วิธีการทอผ้าไหมและ การคัดลายผ้าที เป็ นเอกลักษณ์ของผ้าไหมลายสันกาแพงต ํ ่อไป 3. การประเมินผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมสันกําแพงเพือกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การระดมความคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมสันกาแพงชุมชนได้พัฒนาตัวอย ํ ่างผลิตภัณฑ์ ประเภทกระเป๋ า ปลอกหมอนอิง และตุ๊กตา เป็ นต้นแบบผลิตภัณฑ์ ได้สร้างตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ต้นแบบขึ*นมาเพื อทําการเทียบเคียงกบผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวก ั นที ผ ั านมาตรฐานชุมชน
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1119
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Research Report

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
cover.pdfCover (หน้าปก)38.93 kBAdobe PDFดู/เปิด
abstract (1).pdfAbstract (บทตัดย่อ ภาษาไทย,ภาษาอังกฤษ)64.33 kBAdobe PDFดู/เปิด
sarabun.pdfContent (สารบัญ,สารบัญรูปภาพ,สารบัญตาราง)66.7 kBAdobe PDFดู/เปิด
chap 1.pdfChapter 1 (บทที่ 1)136.35 kBAdobe PDFดู/เปิด
chap 2.pdfChapter 2 (บทที่ 2 )558.73 kBAdobe PDFดู/เปิด
chap 3.pdfChapter 3 ( บทที่ 3 )3.46 MBAdobe PDFดู/เปิด
chap 4.pdfChapter 4 (บทที่ 4)4.21 MBAdobe PDFดู/เปิด
chap 5.pdfChapter 5 (บทที่ 5)570.86 kBAdobe PDFดู/เปิด
reference.pdfฺBibliography (บรรณานุกรม)84.57 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น