Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมนัสพันธ์, รินแสงปิน-
dc.date.accessioned2019-11-08T02:12:30Z-
dc.date.available2019-11-08T02:12:30Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1921-
dc.descriptionThe development of handicraft furniture product format with mineral sheet hit of the community enterprise in Sankampaeng District Chiang Mai province aimed at studying and developing the furniture products for satisfaction evaluation and giving knowledge about the handicraft furniture with mineral sheet hit to other communities. The studying of local wisdom information revealed that the handicraft furniture product with mineral sheet hit blending with the design was made less as product for marketing. The product made of the mineral sheet hit needs to be done by experts with proper model in making product for the real use. The study found that the products and the model were in a high satisfaction which effected to other community enterprise in being interested in product creation as showing below. 1. The design and functional benefits of the three types of furniture, there were 4-seat table set, ,comfortable chair set and chairs, the level of satisfaction of the community was in high. 2. The beauty of all products, the satisfaction of the community was in good level. 3. The furniture producing of all products, the satisfaction of the community was in high level. 4. The product distribution for markets, the satisfaction of the community was in good level.th_TH
dc.description.abstractการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนโดย การใช้หัตถกรรมตีแผ่นโลหะ (แผ่นแร่) จากกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ ใรการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการตีแผ่นโลหะ เพื่อประเมินความพึ่งพอใจผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการตีแผ่นโลหะ และเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับชุมชนอื่น เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนการตีแผ่นโลหะ จากการศึกษาข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนที่ใช้หัตถกรรมตีแผ่นโลหะ (แผ่นแร่) มาผสมผสานกับการออกแบบ ในท้องตลาดยังไม่นิยมนำมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์มากนัก ซึ่งงานหัตถกรรมเป็นงานฝีมือที่เกิดจากการตีแผ่นแร่ ที่ต้องใช้ช่างที่มีความชำนาญเฉพาะด้าน และยังขาดการออกแบบที่เป็นรูปแบบเครื่องเรือนที่สามารถใช้งานได้ หลังจากการวิจัยพบว่ารูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ทำการออกแบบ และสร้างต้นแบบได้รับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ส่งผลให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และชุมชนรอบข้าง มีการตื่นตัวในเรื่อการ สร้างสรรค์งานให้มีความหลากหลายและมีความน่าสนใจมากขึ้น โดยผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. ในด้านการออกแบบและประโยชน์ใช้สอย ของเครื่องเรือนทั้ง 3 ประเภท คือ ชุดโต๊ะรับประทานอาหาร 4 ที่นั่ง ชุดโต๊ะเก้าอี้นั่งสบาย และเก้าอี้เอนกประสงค์ ได้ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก 2. ในด้านความงามของเครื่องเรือนทั้ง 3 ประเภทชุดโต๊ะรับประทานอาหาร 4 ที่นั่ง ชุดโต๊ะเก้าอี้นั่งสบาย ได้ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ส่วนเก้าอี้เอนกประสงค์ได้ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดี 3. ด้านการผลิตของเครื่องเรือนทั้ง 3 ประเภท คือ ชุดโต๊ะรับประทานอาหาร 4 ที่นั่ง ชุดโต๊ะเก้าอี้นั่งสบาย และเก้าอี้เอนกประสงค์ ได้ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก 4. ด้านแนวทางในการจัดจำหน่ายของเครื่องเรือนทั้ง 3 ประเภทชุดโต๊ะรับประทานอาหาร 4 ที่นั่ง ชุดโต๊ะเก้าอี้นั่งสบาย ได้ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ส่วนเก้าอี้เอนกประสงค์ได้ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)th_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©CopeRights มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectเครื่องเรือน หัตถกรรมth_TH
dc.subjectการตีแผ่นโลหะ แผ่นแร่th_TH
dc.subjectสันกำแพงth_TH
dc.subjectFurniture Productth_TH
dc.subjectMineral Sheet Hit Handicraftth_TH
dc.subjectSankampaength_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน โดย การใช้หัตถกรรมตีแผ่นโลหะ (แผ่นแร่)th_TH
dc.titleThe Furniture Product Format Development with Mineral Sheet Hit Handicraft-
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover(ปก)504.17 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract(บทคัดย่อ)747.9 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)417.67 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1(บทที่1)408.02 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter2(บทที่2)2.5 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3(บทที่3)444.26 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4(บทที่4)3.32 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5(บทที่5)521.2 kBAdobe PDFView/Open
Biobliograpsy.pdfBibliography(บรรณานุกรม)423.81 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.