Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/636
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิเชียรเขียว, รองศาสตราจารยอรุณรัตน-
dc.date.accessioned2017-12-07T06:19:48Z-
dc.date.available2017-12-07T06:19:48Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/636-
dc.descriptionThis project set was composed of two individual research projects, examining Buddhism, temples and Shan communities in Keng Tung, Shan State of Myanmar. Ken Tung residents call themselves “Tai Khern” while the Shan call themselves “Tai” or “Tai Long”. The two ethnic groups are devoted Buddhists. Buddhism of Tai Khern originated from Chiang Mai about 500 years ago. Buddhism originated from Chiang Mai is divided into two sects. The first sect is Langkawong sect (Suan Dok sect) with its center at Yang Kuang Temple and the second sect is Pa Daeng with its center at Pa Daeng Temple. The two sects have been prosperous and in contact until today. Monks of the sects have maintained their unique identities, that is, their conventional Sangkha System. Honors and administrative system of Ken Tung monks are similar to those to Chiang Mai : Uposot system. Relationships between Chiang Mai and Ken Tung monks from the past until today have been cordial and strong, with intermittent stoppage due to political conditions of the central government. The Shan in Ken Tung are also devoted Buddhists like Tai Khern. They migrated from the eastern bank of Salween River and settled outside the outer walls of Ken Tung. The two ethnic groups have always been in good terms since they consider themselves relatives from the old days. A temple is the center of the Shan village and their traditional administrative system is Hua Phan (Heng) and Hua Roi. The temples, traditions, rituals and Buddhism are pivotal to building relationships within their group and with outsiders. For instance, the Sang Long Ordination Ceremony is an important event that all Tais in Ken Tung participate annually. The Shan and Tai Khern have cohabited peacefully and maintained their ethnic cultures, traditions and identities amid rapid changes in the globalization ageth_TH
dc.description.abstractชุดโครงการวิจัยนี้ประกอบดวยโครงการวิจัยยอย 2 โครงการ เพื่อศึกษาพุทธศาสนา ในเชียงตุง วัดและชุมชนชาวไทใหญในเชียงตุง ชาวเชียงตุงเรียกตนเองวา “ไทเขิน” สวนชาวไท ใหญเรียกตนเองวา “ไท” หรือ “ไทโหลง” ทั้งสองกลุมชาติพันธุเคารพนับถือเลื่อมใสในพุทธ ศาสนา พทุธศาสนาของชาวไทเขินในเชียงตุงไดรับอิทธพิลมาจากเมืองเชียงใหมเมื่อ 500 ป มาแลว พุทธศาสนาที่มาจากเชียงใหมมี 2 นิกาย ไดแก่ นิกายลังกาวงศ (นิกายสวนดอก) มี ศูนยกลางอยูที่วัด ยางกวง และนกิายปาแดง มีศูนยกลางอยูที่วัดปาแดง ทั้งสองนกิาย เจริญรงุเรืองสืบเนื่องตดิตอกนัมาจนถึงปจจุบนั พระสงฆทั้งสองนิกายในเชียงตุงตางรกัษา เอกลกัษณของนิกายตัวเองไวไดคือ ระบบการปกครองคณะสงฆแบบ เชียงตุงดั้งเดิม การ ถวายสมณศักดิ์สงฆ และระบบการปกครองพระสงฆในเชียงตุงซึ่งถือปฏิบัติเชนเดียวกับเมือง เชียงใหมคือ ระบบหมวดอุโบสถ ความสัมพันธของพระสงฆเชียงตงุกบัพระสงฆเชียงใหม ดําเนินไปดวยดตีั้งแตอดตีถึงปจจุบัน แมจะหยุดชงักไปบ้างเนื่องจากเหตุผลทางการเมืองของ รัฐบาลกลาง ปัจจุบันความสัมพันธไดพัฒนาดีขึ้นพระสงฆมีการตดิตอกันมาก ชาวไทใหญ เปนอีกกลุมชาติพันธุหนึ่งในเชียงตุงทั้งนับถือและเลื่อมใสในพุทธศาสนาอยางเครงครัด เชนเดียวกบัชาวไทเขิน ชาวไทใหญอพยพจากรัฐชานฝงตะวันออกของแมน้ําสาละวินประมาณ รอยปเศษ เขามาตั้งถิ่นฐานรวมกนัอยูนอกกําแพงเมืองเชียงตุง ทั้งสองกลุมชาติพันธุมี ความสัมพันธอันดีต่อกันเพราะเปนเครือญาติกันมาแตอดีต หมูบานของชาวไทใหญมีวัดเปน ศูนยกลางและมีการปกครองระบบดั้งเดิมของตนคือระบบหัวพัน(เห็ง)และหัวรอย ชาวไทใหญ ใช้วัดและประเพณีพิธีกรรมพุทธศาสนาเป็นแกนสําคัญในการสรางสัมพันธ์กับคนในกลุมและ คนนอกกลุม เชน ประเพณีบวชสามเณร หรือ บวชสางลอง จัดเปนงานใหญที่คนไททกุกลุมใน เชียงตุงจะมารวมพิธีนี้ด้วยกัน ชาวไทใหญและชาวไทเขินในเชียงตุงอยูรวมกันอยางสันติและ ตางรักษาวัฒนธรรมประเพณีความเปนตัวตนของตนไว้ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงในปจจุบันth_TH
dc.description.sponsorshipสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectชาติพันธุลุมน้ําโขงและสาละวินth_TH
dc.subjectชนชาติไทth_TH
dc.titleชาติพันธุลุมน้ําโขงและสาละวิน : ชนชาติไทth_TH
dc.title.alternativeThe Ethnic Groups in Mekong and Salween River Basins : Tai Racsth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)520.92 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัคย่อ)401.82 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)399.21 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter-1 (บทที่1)391.75 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter-2 (บทที่2)421.71 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter-3 (บทที่3)819.57 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter-4 (บทที่4)570.2 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter-5 (บทที่5)387.39 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุกรม)398.24 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)393.7 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.