Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเมธีโภคพงษ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักฎา-
dc.date.accessioned2017-12-07T06:30:33Z-
dc.date.available2017-12-07T06:30:33Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/637-
dc.descriptionThe study on temples and the Shan community in Kengtung is a qualitative research. This research aims to study the history and relationships of temples and the Shan and the Khün communities, the interaction with social structure of Shan and Khün in Kengtung, which will lead to coexistence based on cultural diversity-Mekong sub-region. The research findings are Shan in Kentung are immigrants caused by political relations in the Pre-Modern era. After the end of Colonial Era, Burma and the Shan faced with World War II and the Civil War. Consequently, people scattered into many areas, especially the Shan group. Some of them travelled to Thailand. Some are the settlers in Kentung since Kentung provides more peace than any other city in the Shan States. Shan and Khün live together in small villages around Kentung, which each village has temple as the center of the community. Later, their communities have become districts. Social structure of the Shan in Kengtung is not very obvious compared with the Khün because the Government does not allow any activity but religious activities. Social leaders are in the form of monastery institution, temple committee, and the elder group in the community who have social role at village level and are leaders in the worship. The culture of the Shan community has the Buddhism rite as the tool to interact with each other with the beliefs, faith of Buddhism, and temples as places of worship, especially Poi Sang Long, which is considered a great worship, a strong merit, and a medium of communication in social relationships. Moreover, it is the process of socially discipline as well as a way to inherit the Shan social identity, not to be overpowered in the midst of political change and the modern social culture.th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องวัดและชุมชนไทใหญ่ในเมืองเชียงตุง ฉบับนี้ เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ของวัดและชุมชนชาวไทใหญ่ กับไทเขินในเมืองเชียงตุง ปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้างทางสังคมไทใหญ่กับไทเขินเมืองเชียงตุง อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ชาวไทใหญ่ที่เข้ามาอาศัยในเมืองเชียงตุง เป็นผู้ที่อพยพ โยกย้ายถิ่นฐานเกิดจากความสัมพันธ์ทางปกครองในยุคจารีต และภายหลังจากสิ้นสุดยุคอาณานิคม พม่าและรัฐฉานต้องเผชิญกับภัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และผลของสงครามกลางเมือง ทำให้ผู้คนกระจัดกระจายออกไปหลายพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มไทใหญ่ ซึ่งบางส่วนเดินทางเข้าสู่ประเทศไทย และอีกส่วนหนึ่งได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองเชียงตุง เพราะเชียงตุงมีความสงบมากกว่าเมืองอื่นๆ ในรัฐฉาน ชาวไทใหญ่และชาวไทเขินได้อยู่อาศัยร่วมกันจากสังคมในหมู่บ้านเล็กๆ รอบๆ เมืองเชียงตุง โดยแต่ละหมู่บ้านมีวัดเป็นแกนกลางของสังคม จนกลายเป็นสังคมระดับตำบล โครงสร้างทางสังคมใหญ่ในเมืองเชียงตุง ไม่เด่นชัดมากนักหากเปรียบเทียบกับกลุ่มไทเขิน เพราะรัฐบาลไม่อนุญาตให้ดำเนินกิจกรรมใดๆ นอกจากศาสนกิจ แกนนำทางสังคมจึงอยู่ในรูปสถาบันสงฆ์ คณะกรรมการวัด และกลุ่มผู้อาวุโสในหมู่บ้าน ซึ่งมีบทบาททางสังคมระดับหมู่บ้าน และเป็นผู้นำในการประกอบพิธีกรรม วัฒนธรรมชุมชนไทใหญ่ มีพิธีกรรมทางพุทธศาสนาเป็นเครื่องมือในการปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยมีความเชื่อ ความศรัทธาด้านพุทธศาสนาและมีวัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีกรรมการบวชส่างลองซึ่งเป็นพิธีกรรมที่ยิ่งใหญ่ และถือว่าเป็นกุศลอันแรงกล้า เป็นสื่อกลางของการสื่อสาร ความสัมพันธ์ของคนในสังคม นอกจากนี้ยังเป็นกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ตลอดจนเป็นการสืบทอดอัตลักษณ์ทางสังคมไทใหญ่มิให้ถูกกลืนไปท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง และสังคมวัฒนธรรมสมัยใหม่th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectวัดและชุมชนไทใหญ่ในเมืองเชียงตุงth_TH
dc.subjectเชียงตุงth_TH
dc.titleวัดและชุมชนไทใหญ่ในเมืองเชียงตุงth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)435.89 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัคย่อ)377.64 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)395.38 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter-1 (บทที่1)444.26 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter-2 (บทที่2)417.07 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter-3 (บทที่3)663.93 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter-4 (บทที่4)920.25 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter-5 (บทที่5)424.46 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุกรม)458.29 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)364.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.