Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมยานะ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีระศักดิ์-
dc.date.accessioned2017-12-18T02:11:15Z-
dc.date.available2017-12-18T02:11:15Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/764-
dc.descriptionLearning management to create and develop researchers for local socio-economic in Chiang Mai has objective to study and distill the body of knowledge of local researchers which succeeded in applying the research work to develop the local socio economic suitably. Participatory action research was conducted among researchers, local researchers and 10 best practice of local communities in Chiang Mai. Four steps of applied research are used as follow: 1) selection of problem area; 2) method of gathering data; 3) analysis and interpretation of data 4) conclusion and final report. Distill the body of knowledge from the success of research project in 2009 by applying the research to use in the areas that researchers belong to. There are 3 steps of the process of distill the knowledge; 1) preparing before distill the knowledge; 2) distill knowledge and 3) after distill the knowledge. The study was that the body of knowledge that local researchers applied the process of research in their local communities consist of 5 parts; 1) sustainable development; 2) local wisdom with the socio-economic development; 3) equity of people inn communities; 4) empowerment with local socio-economic development and 5) productivity of local socio-economic development. Communities can apply the body of knowledge to promote the local economic development such as development of group of community enterprise, business organizations, production, design and packaging, marketing, financial and accounting, public relations and moral ethic. Concerning social development, the study is consistent to the context and the potential of community in social, environmental development, natural resource conservation, boosting the local culture and local wisdom succeed. The new paradigm of local development research should be used as the model of local socio-economic which has the similar context as these models.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “การจัดการการเรียนรู้เพื่อสร้างและพัฒนานักวิจัย ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและถอดองค์ความรู้ของนักวิจัยประจำท้องถิ่นที่ประสบความสำเร็จต่อการนำเอางานวิจัยไปใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม โดยอาศัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ในการถอดองค์ความรู้ของนักวิจัยท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกันระหว่าง ทีมวิจัย นักวิจัยท้องถิ่น และชุมชนเป้าหมายทั้ง 10 แห่ง ในจังหวัดเชียงใหม่ ในการถอดองค์ความรู้จากความสำเร็จของโครงการวิจัยในปี พ.ศ. 2552 ที่ผ่านมา กับการนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ท้องถิ่นของนักวิจัย ผลการวิจัยสามารถถอดองค์ความรู้อันเป็นแนวทางของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นต้นแบบ ตามขั้นตอนของกระบวนการถอดองค์ความรู้ 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการก่อนเริ่มกระบวนการถอดองค์ความรู้ ซึ่งนักวิจัยท้องถิ่นร่วมกับชุมชนได้ทำการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อหาแนวทางการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นตนเอง โดยการกำหนดปัญหา เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และผลที่คาดว่าจะได้รับ ฯลฯ เพื่อนำมาซึ่งหัวข้อและแนวทางในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินการถอดองค์ความรู้ ซึ่งนักวิจัยทีมงาน ได้ร่วมกับ อปท และชุมชน ทำการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อดำเนินการถอดองค์ความรู้ให้ได้แนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตีความข้อมูล และสรุปผลการดำเนินการวิจัย ตลอดจนนำไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาในงานวิจัยต่อไปสู่งานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ และขั้นตอนที่ 3 กระบวนการหลังการถอดองค์ความรู้ ซึ่งพบว่าชุมชนได้นำองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์จริงในการส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การพัฒนากลุ่มอาชีพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ทั้งด้านการพัฒนาการผลิต การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาด้านการตลาด การพัฒนาระบบการเงินการบัญชี และการพัฒนาด้านการประชาสัมพันธ์ รวมถึงคุณธรรมจริยธรรมของการดำเนินธุรกิจในชุมชน ส่วนแนวทางการพัฒนาด้านสังคมนั้น ผลการวิจัยมีความสอดคล้องกับบริบทและศักยภาพของชุมชน รวมถึงแผนพัฒนาชุมชนในแต่ละพื้นที่ในด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมของชุมชน ภูมิปัญญาพื้นบ้านของแต่ละท้องถิ่นth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights©มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectการจัดการการเรียนรู้เพื่อสร้างและพัฒนานักวิจัย ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.titleการจัดการการเรียนรู้เพื่อสร้างและพัฒนานักวิจัย ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)415.1 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัคย่อ)403.14 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)513.46 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter-1 (บทที่1)436 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter-2 (บทที่2)594.84 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter-3 (บทที่3)480.59 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter-4 (บทที่4)785.92 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter-5 (บทที่5)446.38 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุกรม)435.54 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)445.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.