Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorใจหลา, บูรณพันธุ-
dc.date.accessioned2018-01-19T06:30:57Z-
dc.date.available2018-01-19T06:30:57Z-
dc.date.issued2561-01-19-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/839-
dc.descriptionThis research looks into the heritage of hnae, a double-reed aerophone instrument indigenous to Thailand’s northern region, and the methods for creating the instrument. Nhae has seven holes on its body, through which seven main notes are produced. The instrument can produce more than one octave of notes with diff erent intervals between them, and a total of 14 diff erent sounds can be made on it. Using a qualitative research methodology and theories in ethnomusicology to analyze data from a review of literature and fi eld research, the following fi ndings were made : 1.Hnae heritage : An instrument dating back over 700 years and still in use today, hnae is infl uenced by the Persian Zurna. The hnae heritage has been passed down through : 1.1 the playing of the instrument; 1.2 the making of the instrument taught orally by teacher to student. 2. Hnae making : Today two diff erent types of hnae are in use : hnae-luang (big hnae) and hnae-noi (small hnae). The creation of both types of hnae consists of : 2.1 the making of lao-hnae (coni tube); 2.2 the making of tawa (bell); and 2.3 the making of lin-hnae (reed).th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องแน : พัฒนาการและกระบวนการสราง มีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาถึงกระบวนการสืบทอด และวิธีก ารสรางแน โดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและทฤษฎีการศึกษาทางมานุษยดนตรีวิทยาในการศึกษาขอมูล จากภาคเอกสารและภาคสนาม ผลการวิจัยพบวา 1. แน เปนเครื่องดนตรีที่มีประวัติความเปนมาและมีการใชงานมามากกวา 700 ป และไดรับอิทธิพลการแพร กระจายทางวัฒนธรรม จากเครื่องดนตรีคือปซูนนาจากเปอรเซีย จากการศึกษาแน มีกระบวนการวิธีการสืบทอดอยู 2 อยางคือ 1. กระบวนการสืบทอดทางดานการบรรเลง 2. กระบวนการสืบทอดทางดานการสราง เปนการสืบทอด โดยวิธีมุขปาฐะ โดยการสอนตัวตอตัวระหวางครูกับลูกศิษย 2. กระบวนการสรางแน พบวา แนที่ใชอยูปจจุบันมีอยูดวยกัน 2 ขนาดคือ แนหลวง และแนหนอย แนทั้ง 2 ขนาดมีกระบวนการสรางที่เหมือนกัน คือ 1. สรางเลาแน 2. สรางลําโพงหรือถวา 3. สรางลิ้นแน หรือกําพรวด แน เปนเครื่องดนตรีพื้นบานลานนาประเภทลิ้นคู (Double-reed aerophone) มีใชอยู 2 ขนาดในปจจุบัน มีระดับเสียงหลักตามจํานวนรูนับ 7 เสียงและสามารถใหเสียงเกิดขึ้นไดมากกวา 1 ชวงทบ (Octave) โดยมีระยะหาง เสียงแตละเสียงไมเทากัน เสียงที่สามารถปรากฏไดทั้งหมด 14 เสียงโดยประมาณth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่th_TH
dc.titleแน : พัฒนาการและกระบวนการสรางth_TH
dc.title.alternativeHNAE : Development and Process of Creatingth_TH
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
อ.บูรณพันธุ์ ใจหล้า.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.