กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/877
ชื่อเรื่อง: การมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการปญหาแรงงานตางดาว บานตนโชค ตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม
ชื่อเรื่องอื่นๆ: A COMMUNITY’S PARTICIPATION IN MIGRANT WORKERS PROBLEM MANAGEMENT IN BAAN TON CHOK, NONGBUA, CHAIPRAKAAN DISTRICT, CHIANG MAI
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปญญาวัน, กิตติชัย
คำสำคัญ: การจัดการปญหาแรงงานตางดาว
การมีสวนรวมของชุมชน
การผสานอำนาจ
Problem Management of Migrant Workers
Community Participation
Power Collaborative
วันที่เผยแพร่: 23-มกร-2561
สำนักพิมพ์: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปญหาการจัดการแรงงานตางดาวและการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการ ปญหาแรงงานตางดาวโดยใชลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยภาคสนามและการหาขอมูลทุติยภูมิซึ่งมีวิธีการรวบรวม ขอมูลคือ การสัมภาษณเชิงลึก การสนทนากลุม การจัดกิจกรรมกลุมและการสังเกตประกอบเขาดวยกัน ผลการวิจัย พบวา ชุมชนและองคการภาครัฐไดมองเห็นปญหาในการดำเนินการจัดการปญหาแรงงานตางดาว คือ การขาดการประสานงาน การสรางความรูความเขาใจ การสื่อสาร ปฏิสัมพันธการทราบขอบเขตของอำนาจหนาที่ แลววิเคราะหเพื่อสรางแนวทาง ในการมีสวนรวมในการดำเนินงาน โดยการสรางรูปแบบการจัดระเบียบแรงงานตางดาวโดยอาศัยอำนาจหนาที่ขององคการ ภาครัฐในเบื้องตน จากนั้นจึงสรางกระบวนการเรียนรูวิธีการทำงานไปพรอมๆ กันกับชุมชนและประสานเอาอำนาจดังกลาวไว เพื่อการปฏิบัติงาน โดยมการกำหนดบทบาทหน้าที่ ใช้ศักยภาพของชุมชนเอง เป็นการผสานอำนาจจากภายนอก ในขณะเดียวกัน มีการผสานอำนาจอยางไมเปนทางการจากภายในชุมชนผานสถาบันศาสนาในรูปแบบของการขัดเกลา ควบคุมโดยใชจารีต ศีลธรรม วิถีประชา ซึ่งการผสานบรรทัดฐานและรูปแบบการควบคุมที่หลากหลายจากภาคสวนตางๆ ที่สามารถดำเนินงาน สนับสนุน เอื้อประโยชนกันไดจะทำใหการจัดการปญหามีความยั่งยืนรอบดานมากขึ้น นอกเหนือจากนั้นการบูรณาการวิธีการ จากภาคส่วนต่างๆ ในการทำงานทั้งหมดตั้งอยู่บนการใช้ พื้นที่เป็นฐานพิจารณาสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริงกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยหลักในชุมชน
รายละเอียด: The objective of this qualitative research is to study a community’s participation in the management of migrant workers. It is also a field research and the secondary data was collected by using an in-depth interview, a focus group, group activities and an observation. It is found that the community and the government sectors cooperatively perceived operational problems of the management of the migrant workers which are a lack of cooperation, building up knowledge and understanding, communication and interaction as well as a lack of perception of boundaries of power and authorities. It is then analyzed to create participatory strategies for the operation by creating a model of regularization of migrant workers by virtue of the government sectors basically. After that, a learning process and a method of operation are set by the government sector and the community. The power is collaborated for the operation by defining roles and duties with the community’s own potentiality. This is the external power collaboration. In the meantime, there is the informal internal power collaboration within the community, through socialization, controlling with mores, morality and folkways. The collaboration of various norms and the model of controlling from other sectors, that can operate, support and subserve each other, can lead to more sustainable problem management. Furthermore, an integration of the sectors’ operations is area-based in order to inquire some occurrence and main stakeholders in the community.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/877
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
กิตติชัย ปัญญาวัน.pdf11.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น