Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/913
Title: การพัฒนากลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบ จังหวัดศรีสะเกษ
Other Titles: THE DEVELOPMENT MANAGEMENT STRATEGIES FOR ENHANCING PARTICIPATION IN EDUCATION PROVISION OF MARGINALIZED SCHOOLS, SISAKET PROVINCE
Authors: งามแสง, พลพัทธชัย
สมพงษธรรม, เจริญวิชญ
ศิริบรรณพิทักษ, พฤทธิ์
Keywords: กลยุทธการบริหาร
การพัฒนา
การมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษา
โรงเรียนชายขอบ
Management Strategies
Marginalized Schools
Participation in Education Provision
Development
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหารเพื่อเสริมสราง การมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบ จังหวัดศรีสะเกษ 2. วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส ภาวะคุกคามของการบริหารเพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบ จังหวัดศรีสะเกษ และ 3. พัฒนากลยุทธการบริหารเพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบ จังหวัด ศรีสะเกษ เพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษา จำนวน 3 ดาน คือ ดานการดำเนินการจัดการศึกษา ดานการบริหารและพัฒนาการศึกษา และดานการระดมทรัพยากรทางการศึกษาและทรัพยากรอื่นที่เก่ียวของ เก็บรวบรวม ขอมูลจากผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอนและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ เขต 3 และ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 28 และองคการบริหารสวนจังหวัด ศรีสะเกษ จำนวน 552 คน ใชวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) โดยกำหนดขนาดกลุมตัวอยาง จากตารางของ Krejcie and Morgan วิเคราะหขอมูลโดยใชคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาดัชนี ความตองการจำเปนในการพัฒนา ดวยวิธี Modified Priority Needs Index (PNImodified) ทำการระดมความคิดเห็นและ ประเมินความเหมาะสมและความเปนไปได โดยผูทรงคุณวุฒิและผูมีสวนเกี่ยวของ จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของกลยุทธการบริหารเพื่อเสริมสราง การมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบจังหวัดศรีสะเกษ และแบบประเมินความเหมาะสม และความเปนไปไดของกลยุทธการบริหารเพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบ จังหวัดศรีสะเกษ ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ สภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหารเพื่อเสริมสรางทักษะการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษา ของโรงเรียนชายขอบ จังหวัดศรีสะเกษ มีคาเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงคสูงกวาสภาพปจจุบันทั้ง 3 ดาน สำหรับจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภาวะคุกคามของปจจัยภายในและปจจัยภายนอก การบริหารเพื่อเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบจังหวัดศรีสะเกษ พบวา 1. ดานการดำเนินการจัดการศึกษา มีจุดแข็ง (S) คือ การวางแผนการจัดการศึกษาโดยการมีสวนรวมของชุมชน การวัดและการประเมินผล สวนของการจัดการศึกษาโดยการ มสีวนรวมของชมุชนเปนจดุออน (W) สำหรบัปจจยัภายนอกเปนโอกาส (O) 2. ดานการบรหิารและพฒันาการศกึษา มจีดุแขง็ (S) คือ การวางแผนการบริหารและพัฒนาการศึกษาโดยการมีสวนรวมของชุมชน การบริหารและพัฒนาการศึกษาโดยการมี สวนรวมของชุมชน การวัดและการประเมินผล แตปจจัยภายนอกเปนภาวะคุกคาม (T) 3. ดานการระดมทรัพยากรทางการ ศึกษาและทรพัยากรอนื่ทเี่กย่ีวของ มจีดุแขง็ (S) คอืการวางแผนระดมทรพัยากร การดำเนนิการระดมทรพัยากร การวดัและการ ประเมนิผล และปจจัยภายนอกเปนโอกาส (O) สวนการพัฒนากลยุทธ พบวา กลยุทธการบริหารเพื่อเสริมสรางการมีสวนรวม ของชุมชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนชายขอบ จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีความเหมาะสม มีกลยุทธหลัก 3 กลยุทธ ไดแก 1. ปฏิรูปการดำเนินการจัดการศึกษาโดยการมีสวนรวมของชุมชนอยางยั่งยืน 2. ปรับกระบวนทัศนของชุมชนในการมีสวนรวม บรหิารและพฒันาการศกึษา 3. เพมิ่ขดีความสามารถของชมุชนในการมสีวนรวมระดมทรพัยากรทางการศกึษา และมกีลยทุธรอง 12 กลยุทธ
Description: This research aims: 1. To study the current state and the desired state of the administration to strengthen the involvement of the community in the education of the marginalized schools, Sisaket province 2. To analyze the strengths, weaknesses, opportunities, threats of the administration to strengthen the involvement of communities in the management of marginalized schools, Sisaket province and 3. To develop of management strategies to enhance the participation of communities in the management of marginalized schools, Sisaket province. To strengthen the involvement of communities in the management of 3 aspects Management education, Management and Development Studies and resource mobilization, education and other related resources. Data were collected from school administrators. Teachers and school board basis. Schools under the Primary Education Service Area office 3 and 4 in Sisaket province Administration. Secondary Educational Service office Area 28 and Provincial Administrative Organization of 552 people using stratified random sampling determine the sample size by using the table of Krejcie and Morgan were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation. And the index needs to develop ways Modified Priority Needs Index (PNImodified) to brainstorm and evaluate the suitability and feasibility by 13 experts and stakeholders. The instrument used in this research were feedback on current conditions and the adverse conditions of the strategy to strengthen the involvement of the community in the education of marginalized offense. And evaluate the suitability and feasibility of the strategy to strengthen the involvement of communities in the management of school marginal offense. The results were as follow: As regards the current and desirable conditions of Participation in Education Provision of Marginalized Schools, Sisaket Province. The average desirable conditions is higher than current. Current conditions both for the three strengths, weaknesses, opportunities and threats of internal and external factors management to strengthen the involvement of communities in the management of school marginal offenses found: 1. The implementation of the educational strengths (S) is planning to study the involvement of the community and measurement and evaluation. The study by the involvement of the community as a weakness (W). External factors are the opportunities (O) 2. Management and Development Studies strengths (S) is the planning and management of education by being there. Community involvement Management and education by engaging the community. And measurement and evaluation. External factors are the threats (T) 3. Resource mobilization, education and other resources associated with its strengths (S) is planning to mobilize resources. Implementation of resource mobilization Measurement and Evaluation. External factors are the opportunities (O). As regards the strategy of the administration for enhancing participation in education provision of marginalized schools in Sisaket province consisted of 3 primary strategies: 1. The implementation of education reforms without the involvement of a sustainable community 2. The paradigm of community involvement in the management and development of education. 3. The increase the capacity of communities to engage raise educational resource strategy and 12 secondary strategies
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/913
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.