Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/917
Title: การพัฒนาบทเรียนวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เรื่อง การเสริมสร้าง สุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาด้านจิตบำบัด
Other Titles: THE DEVELOPMENT OF FOLK SCIENCE LESSON PLANS WHICH CONCERNED FOR LANNA LOCAL WISDOM IN THE PSYCHOTHERAPY FOR ELDERLY
Authors: ใจเตี้ย, อาทิตยา
Keywords: บทเรียนวิทยาศาสตรทองถิ่น
การเสริมสรางสุขภาพผูสูงอายุ
ภูมิปญญาพื้นบานลานนาดานจิตบำบัด
Science Lesson Plans
Lanna Local Wisdom in the Psychotherapy
Health Promotion in the Elderly
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางและทดสอบประสิทธิผลของบทเรียนวิทยาศาสตรทองถิ่น เรื่อง การเสริมสราง สุขภาพผูสูงอายุดวยภูมิปญญาพื้นบานลานนาดานจิตบำบัด กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ผูสูงอายุเขตเทศบาล ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม จำนวน 297 ครัวเรือน ผูสูงอายุ จำนวน 12 คน และผูดูแลผูสูงอายุ จำนวน 8 คน เก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม การสนทนากลุม การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ และแบบทดสอบกอน-หลัง การใชบทเรียนวิทยาศาสตรทองถิ่น วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ Paired t-test และ การวิเคราะหเชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบวา คาคะแนนเฉลี่ยการใชภูมิปญญาพื้นบานลานนาดานจิตบำบัดของผูสูงอายุโดยรวมอยูในระดับ ปฏิบัติเปนประจำ (คาเฉลี่ย = 2.35) กลุมผูสูงอายุมีคาคะแนนในการทำกิจกรรมระหวางเรียน (E1) และผลของการใชบทเรียน (E2) เทากับ 83.18/85.25 กลุมผูดูแลผูสูงอายุมีคาคะแนน เทากับ 82.27/85.73 โดยการศึกษาน้ีกำหนดประสิทธิภาพ ของบทเรียนตามเกณฑรอยละ 80/80 (E1/E2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์บทเรียนวิทยาศาสตรทองถิ่น พบวา คาคะแนน ทดสอบความรูเฉลี่ยหลังทดลองใชบทเรียนมีคาสูงกวากอนทดลองใชบทเรียนทั้งกลุมผูสูงอายุและกลุมผูดูแลผูสูงอายุ อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (p-value = 0.002 และ 0.01 ตามลำดับ)
Description: The purpose of this study was to develop and efficiency assessment of Folk Science Lesson plans which concerned for Lanna Local wisdom in the psychotherapy. 297 household, 12 elderly persons and 8 caregivers in the area of Suthep sub-district Municipality, Muang Chiangmai District, Chiangmai Province. Data were collected by using questionnaires, group discussion in-depth interview, and questionnaire before and after the Folk Science Lesson plans were Lanna Local wisdom in the psychotherapy had begun. The Folk Science Lesson plans prepared had efficiency of E1/E2 according to the set criteria of 80/80, Means, Standard deviation, Paired t-test and content analysis were used for data analysis. The results indicated that the relationship aspect of Lanna Local wisdom in the psychotherapy was on the highest level (X = 2.35). The Folk Science Lesson plans Lanna Local wisdom in the psychotherapy of elderly were 83.18/85.25 and caregivers 82.27/85.73. The efficiency gain on each lessons were specified at 80.00/80.00 percent (E1/E2). Comparison of Flok Science Lesson the post-learning achievement score was higher than the pre-learning score (p-value = 0.002, and 0.01).
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/917
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
อาทิตยา ใจเตี้ย.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.