Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/921
Title: การถอดบทเรียนการพัฒนาทักษะชีวิต สําหรับบุคคลออทิสติกในมุมมองผู้เชี่ยวชาญ
Other Titles: LESSON LEARNED FROM DEVELOPING LIFE SKILLS FOR THE PERSONS WITH AUTISM ON VIEWS OF AUTISM EXPERTS
Authors: ขันสําโรง, ฐาวรี
พงษศักดิ์ศรี, เมธิศา
Keywords: ผูเชี่ยวชาญทางดานภาวะออทิสซึม
บุคคลออทิสติก
การพัฒนาทักษะในการดําเนินชีวิต
Autism Experts
Persons with Autism
Developing Life Skills
Issue Date: 26-Jan-2561
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงคเพื่อถอดบทเรียนการพัฒนาทักษะชีวิตสําหรับบุคคลออทิสติกในมุมมองของ ผูเชี่ยวชาญ ผูใหขอมูลสําคัญเปนผ ูเชี่ยวชาญทางดานภาวะออทิสซึม เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ การสัมภาษณเชิงลึก โดยเก็บขอมูลในเดือนตุลาคม พ.ศ.2559 วิเคราะหขอมูลดวยวธิวีิเคราะหเนื้อหา ผลการวจิัยพบวา ในมุมมองของบุคคลออทิสตกิ เห็นวา ผูปกครองหรือผูดูแลควรมองวา บุคคลออทิสติกเหมือนคนธรรมดาทั่วไปที่มีปญหาและพยายามแกปญหาใหดีขึ้น และไมมองวามีความแปลกแยกจากคนอื่น จะเปนการสนับสนุนและใหกําลังใจอยางดีเยี่ยม พรอมทั้งคนหาสิ่งที่ชอบทํา แลวมีความสุขเพื่อสงเสริมใหเปนความสามารถ สวนมุมมองของจิตแพทยเด็กและวัยรุนและพยาบาลจิตเวชเห็นวา บทบาทหนาที่ รวมกันที่สําคัญคือ การประเมิน การวินิจฉัย และการรักษา โดยกระบวนการที่สําคัญที่สุดคือ การคนหาความเสี่ยงตอภาวะ ออทิสซึมในชวง 3 ขวบปแรก ในมุมมองนักกิจกรรมบําบัดที่เห็นวา การแกไขตองเริ่มตั้งแตพื้นฐานคือ การแกไขขอบกพรอง ของการรับความรู้สึกและการรับรูของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในลักษณะบูรณาการ ในมุมมองของครผููดูแลกลุมเด็กทมี่ีความตองการ พิเศษเห็นวา เมื่อเด็กเขาโรงเรียน ความรวมมือกันระหวางโรงเรียนและผูปกครองในการดูแลพัฒนาการและการเรียนตองเปนไป อยางใกลชิดตอเนื่องจะสงผลบุคคลออทิสติกมีทักษะในการดําเนินชีวิตที่ใกลเคียงหรือเหมือนกับบุคคลทั่วไป
Description: This study is based on the methodology of qualitative research. The purpose of this study was to draw up the lesson learnt from developing the long life skills for the persons with autism spectrum disorder on the views of the autism experts A focus group was used as the research instrument. The qualitative data was collected and analyzed with content analysis technique. The results of this research were found that the person with autism wanted the parents or caregivers to consider autistic children as general people that face problems and try to find the solution. Viewing them as the same as the others was the great way to support and encourage them to improve themselves. However, the child psychiatrist and the psychiatric nurse practitioner pointed out that the key coordinated roles were assessment, diagnosis and treatment; moreover, the most important process was to find out the riskiness of being autistic during the first 3 years olds. Furthermore, the occupational therapist viewed that a fundamental treatment was to solve their five sensory awareness in integrated way. Moreover, the special education teacher added that if they would go to a school, a co-operation between a school and parents was needed in order to closely take care of their development and study. This helps them to live as normal or close a life as possible.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/921
Appears in Collections:Rajabhat Chiang Mai Research Journal



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.