Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/557
Title: ศักยภาพหัตถกรรมท้องถิ่นไทย 10 สาขา ของภาคเหนือตอนบนสู่การค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้
Other Titles: The 10 Thai Handcraft Potential of Thai Upper Northern to Thai- South China Boarder Trade
Authors: โสมดี, ณัฐวัฒน์
Issue Date: 2556
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: การวิจัยคร้ังน้ี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจยั คือ 1) ศึกษาภาวะการค้าชายแดนไทย - จีน ตอนใต้ ดา้ นงานหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน 2) ศึกษาข้อมูลด้านบริบทชุมชนการค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้ที่มีผลต่อรูปแบบผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน 3) ศึกษาเส้นทางการค้าชายแดนไทย - จีนตอนใต้ ด้านงานหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน ภายใตก้ รอบเส้นทางเศรษฐกิจตามแนวเหนือ – ใต้ (North – South Economic Corridor) 4) ศึกษาระเบียบพิธีการทางศุลกากรของการค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้ ด้านงานหตั ถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน 5) ศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ประกอบการงานหัตถกรรม 10 สาขา ของภาคเหนือตอนบนสู่การค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้ 6) สร้างศัพทานุกรม (Wordbook) ด้านการคา้ ระหวา่งประเทศฉบับภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมการค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ผู้ประกอบการงานหัตถกรรม 2) ผู้ประกอบการที่เคยทาการคา้ ระหว่างชายแดนไทย – จีนตอนใต้ 3) ผู้ประกอบการงานหัตถกรรมของภาคเหนือตอนบนอันได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวดั ลาปาง จังหวัดลาพูน และจังหวัดแม่ฮ่องสอน 4) ผู้บริโภคและประชากรในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน โดยเฉพาะอยา่งยิ่งในนครคุณหมิง และสิบสองปันนา 5) หน่วยงานราชการที่เกี่ยวขอ้ ง เช่น ด่านศุลกากร หอการค้า งังหวัด กลุ่มผู้ประกอบการไทย / จีน ที่ให้บริการขนส่ง สินค้า ฯลฯ ชนิดของเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบส ารวจ และแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบวา่ ภาวะการค้าชายแดนไทย - จีนตอนใต้ ด้านงานหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน ภาพรวมสถานการณ์ และแนวโน้มที่เกี่ยวกบั การคา้ ชายแดนไทย – จีนตอนใต้ การส่งออก ช่วง 10 เดือนแรกของปี 2556 (ม.ค. – ต.ค.) การส่งออกผา่ นแดนมีมูลค่าเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกนั ของปี ก่อนลดลง ร้อยละ 8.48 แต่เมื่อพิจารณาจากรายสินค้า พบว่า มีการส่งออกน้ามันเบนซิน รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ลดลงร้อยละ 56.21 32.53 และ 25.77 ตามลาดับ และสินคา้ ที่มีการส่งออกเพิ่มข้ึน ไดแ้ ก่ มอเตอร์ชและเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า เพิ่มข้ึนร้อยละ 611.96 โดยส่งออกทางจังหวดั มุกดาหาร และทางด่านศุลกากรเชียงของ จังหวัดเชียงราย ผ่านเส้นทาง R3A ไปจีนตอนใต้ ข้อมูลด้านบริบทชุมชนการค้า ชายแดนไทย – จีนตอนใตท้ ี่มีผลต่อรูปแบบผลิตภณั ฑง์ านหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน บริบทชุมชนนครคุนหมิง เป็ นเมืองเอกและเป็ นเมืองที่มีศักยภาพมากที่สุดในยูนนาน ตั้งอยตรงกลางค่อนไปทางเหนือของมณฑลติดกบั ทะเลสาบเตียนฉือ ปัจจุบนั มีประชากรประมาณ 6.2 ล้านคน คุนหมิงมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของยูนนาน และกำลัง ก่อสร้างพัฒนาเมือง เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการติดต่อค้าขายกบัประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียใต้ พฤติกรรมการเลือกซ้ือสินค้า เพื่ออุปโภคและบริโภคของชาวคุนหมิง สภาพโดยรวมเป็นเมืองที่กำลังพัฒนา ประชาชนมีศักยภาพในการบริโภคสินคา้ เหมือนกบั ผูบ้ ริโภคในเมืองใหญ่ทวั่ ไป พฤติกรรมการเลือกซ้ือสินค้า เพื่ออุปโภคและบริโภคของชาวสิบสองปันนา การเลือกซ้ือสินค้าของชาวสิบสองปันนา โดยเฉพาะในเมืองเชียงรุ่ง โดยส่วนใหญ่ผู้บริโภคในเมืองมีลักษณะคล้ายเมืองขนาดใหญ่ เช่นที่เมืองคุนหมิง เป็นต้น ผู้บริโภคมีกำลังซ้ือ ความต้องการบริโภคสินค้ามีลักษณะคล้ายกัน แต่หากเป็นรอบนอกหรือเขตอื่น ๆ ลักษณะของผู้บริโภคจะมีกำลังซ้ือที่น้อยลง อีกทั้งประชากรส่วนใหญ่ เป็นชนกลุ่มน้อย ชาวเขาเผา่ ต่าง ๆ ดังน้นรูปแบบการบริโภคที่เป็นความทันสมย หรือเทคโนโลยีอาจจะยังไม่ได่รับความสนใจเท่าที่ควร เส้นทางการค้าชายแดนไทย - จีนตอนใต้ ด้านงานหตั ถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือ ตอนบน ภายใต้รอบเส้นทางเศรษฐกิจตามแนวเหนือ – ใต้ (North – South Economic Corridor) เส้นทางที่มีศักยภาพในการขนส่งสินค้า มากที่สุด คือ เส้นทางการขนส่งสินคา้ ทางถนน ไทย – ลาว –จีน (R3A) เนื่องจากมีความรวดเร็วในการขนส่งสินค้า มีความน่าเชื่อถือและความปลอดภยั ของเส้นทางสูง ต้นทุนในการขนส่งสินคา้ ทางถนน R3A มีตน้ ทางเริ่มจากอำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย ของประเทศไทย - บ่อแกว้ - หลวงน้าทา - บ่อเตน็ ประเทศลาว - บ่อหาน - เชียงรุ่งหรือจิ่งหง สิบสองปันนา - เมืองยี่ซี คุนหมิง มณฆลยูนนาน ประเทศจีน โดยมีระยะทางจากจังหวัด เชียงใหม่ ถึงเมืองคุนหมิง เป็นระยะทางทั้งสิ้น 1,258 กิโลเมตร ใชเ้ วลาในการเดินทางทั้งสิ้น 21-24 ชวั่ โมง ค่าใชจ้ ่ายในการขนส่งสินคา้ สู่จีนตอนใตป้ ระมาณ 100,000 บาท/ตูค้ อนเทนเนอร์ และค่าใชจ้ ่ายแยก ตามความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการรายยอ่ ย ตามเสน้ ทางเดิม และรับผิดชอบโดยบริษทั เอกชนใน การขนส่งแบบครบกระบวนการ ค่าใชจ้ ่ายประมาณ 5,000.-/ 1 cbm (cbm/คิวบิกเมตร หรือ ขนาด ความกว้าง x ยาว x สูง) ระเบียบพิธีการทางศุลกากรของการค้าชายแดนไทย – จีนตอนใตด้ า้ นงานหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของภาคเหนือตอนบน สินคา้ ท้งั หมดที่ส่งออกจากประเทศไทยตอ้ งรายงานและผ่านพิธีการ ทางศุลกากร โดยมีเอกสารประกอบการดาเนินพธิ ีการส่งออก ไดแ้ ก่ ใบขนสินคา้ ขาออก บญั ชีราคาซ สินคา้ ใบอนุญาตส่งออกหรือเอกสารอื่นใดสาหรับสินค้าควบคุมการส่งออก (ถ้ามี) ใบรับรอง แหล่งกาเนิดสินคา้ (ถา้ มี) และเอกสารอื่น ๆ เช่น แค็ตตาล็อค เอกสารแสดงส่วนผสม เป็ นต้น ซึ่ง ปกติพธิ ีการทางศุลกากรเพอื่ การส่งออกประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอน คือ การโอนถ่าย และ/หรือการยนื่ ข้อมูลใบขนสินค้า การตรวจสอบพิสูจน์การส าแดงข้อมูลการช าระภาษีอากรและการตรวจและการ ปล่อยสินคา้ ท้งั น้ีเสน้ ทางการคา้ ที่สาคญั ระหวา่ งไทยและยนู นานมีท้งั ทางบก ทางน้าและทางอากาศ ตลอดจนกรมศุลกากรได้น าระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้สายมาใช้ในการผ่านพิธีการศุลกากรเป็ น การปรับปรุงระบบใหบ้ ริการบนพ้นฐานของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ื เพื่ออ านวยความสะดวกใน การคา้ ระหว่างประเทศ โดยมีข้นั ตอนต่าง ๆ ซ่ึงประกอบดว้ ยข้นั ตอนการผ่านพิธีการส่งออกดว้ ย ระบบ E-Export ค่าธรรมเนียม การแกไ้ ขขอ้ มูล กรณีที่ตอ้ งผ่านการอนุมัติ/อนุญาต หน่วยงานอื่น การรับรองใบขนสินค้าขาออก ข้อพึงระวังในการส่งขอ้ มูลใบกากบั การขนยา้ ยสินคา้ แนวทางการพฒั นาศกั ยภาพกลุ่มผูป้ ระกอบการงานหัตถกรรม 10 สาขา ของภาคเหนือ ตอนบนสู่การคา้ ชายแดนไทย – จีนตอนใต้ ผูป้ ระกอบการงานช่างหัตถกรรม 10 สาขาของ ภาคเหนือตอนบน มีท้งั รายเดี่ยวและรายกลุ่ม มีโครงสร้างองคก์ รในแนวดิ่ง ส่วนเงินที่ใช้ในการ ลงทุนมาจากเงินทุนส่วนตวั การจดั การดา้ นการตลาดของหน่วยประกอบการ คือ ผกู้ าหนดราคาและ เป็ นการพฒั นาผลิตภณั ฑจ์ ากความตอ้ งการของลูกคา้ การจดั การดา้ นช่องทางการจดั จาหน่ายสินคา้ ไดแ้ ก่ พอ่ คา้ คนกลาง งานแสดงสินคา้ ตลาดนัด ถนนคนเดินฯ ร้านคา้ ทอ้ งถิ่น ซ่ึงลกั ษณะการขาย ไดแ้ ก่ ขายส่ง ขายปลีก ขายส่งและปลีก หรือรับจา้ งผลิต การชาระเงิน ไดแ้ ก่ เงินสด ขายฝาก เครดิต การจดั การดา้ นการส่งเสริมการขาย แบ่งเป็ น การรักษาลูกคา้ เก่า การแสวงหาลูกคา้ ใหม่ดว้ ยวิธีการ ต่าง ๆ การนาสินคา้ ไปเสนอขายโดยตรงกับกลุ่มผูบ้ ริโภค การจัดการด้านการผลิตของหน่วย ประกอบการงานหตั ถกรรม ผปู้ ระกอบการใชพ้ ้นื ที่อยอู่ าศยั ของตนเองเป็ นสถานที่ผลิตสินคา้ ดา้ น แรงงาน และวตั ถุดิบ ผูป้ ระกอบการจา้ งแรงงาน และซ้ือวตั ถุดิบส่วนใหญ่จากภายในทอ้ งถิ่น และ จ้างแรงงานและซ้ือวตั ถุดิบจากภายนอกทอ้ งถิ่น การจดั การสินคา้ คงคลงั ผูป้ ระกอบการมีการผลิต เพื่อจาหน่ายและมีรองรับการจาหน่ายจากยอดขายล่วงหน้า ศัพทานุกรม (Wordbook) ด้านการค้า ระหวา่ งประเทศฉบบั ภาษาองั กฤษ เพอื่ ส่งเสริมการคา้ ชายแดนไทย – จีนตอนใต้ การสร้างศัพทานุ กรมเป็นเพียงส่วนประกอบหน่ึงที่นาไปสู่การเพมิ่ มูลค่าของผลิตภณั ฑซ์ ่ึงในกระบวนการผลิตมีการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบสินคา้ อยตู่ ลอดเวลาเพอื่ จูงใจใหล้ ูกคา้ ตดั สินใจซ้ือเร็วข้ึนอยแู่ ลว้ ส่วนการพฒั นา สินคา้ หัตกรรมของภาคเหนือตอนบนสู่สากลน้ันพบว่าผูป้ ระกอบการชาวไทยมีความพึงพอใจต่อ การสร้างศพั ทานุกรมในแง่ที่ว่าศพั ทานุกรมมีส่วนช่วยให้การสื่อสารในการขายสินคา้ สะดวกข้ึน และคาอธิบายความเป็ นมาของสินค้าจะมีส่วนส่งเสริมให้สินค้ามีมูลค่าเพิ่มข้ึนในสายตาของ นกั ท่องเที่ยว มีความพงึ พอใจในการใชศ้ พั ทานุกรมในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุ
Description: This study aims to 1) study the trading situation of 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products in Thailand – Southern China border area 2) study the commercial community context in Thailand – Southern China border area 3) study trade route of the 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products in Thailand – Southern China border, under North – South Economic Corridor 4) study the Thailand – Southern China border’s customs formality for 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products 5) study the way to develop the 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products’ entrepreneurs and 6) create an English language International Trade Wordbook for Thailand – Southern China border’s Trade. Research population and sample were 1) handicraft entrepreneurs 2) the entrepreneurs who used to trade in Thailand – Southern China border area 3) handicraft entrepreneurs in Upper Northern Thailand’s provinces; Chiang Mai, Lampang, Lampoon and Mea Hong sorn 4) customers and people in Yunnan province of China especially in Kunming city and Xishuangbanna and 5) related officers in customs house, provinces’ chamber of commerce, Thai/Chinese transportation service providers, and related businesses. The research tools were questionnaires, survey form and interview forms. This study found that the trading situation of 10 Fields of Upper Northern Thailand Handicraft Products in Thailand – Southern China border area was related to the overall country’s export situation. In the first 10 months of 2013 (January – October), Thailand’s exportation decreased 8.48% compared with the year before. Comparing product by product, the study found that benzene oil, automobiles; tools and parts, and computers; tools and parts exportation decreased 56.21%, 32.53%จ and 25.77% orderly, while there was 611.96% increasing in the motors and generators exportation. The main export route was R3A road to Southern China, which begin from Mukdahan customs house in Mukdahan province and Chiang Khong customs house in Chiang Rai province. The commercial community context in Thailand – Southern China border area influenced to the 10 Fields of Upper Northern Thailand Handicraft Products’ forms. Kunming city is a capital city and has the most potential in every aspects, compared with other cities in Yunnan province. It is located in the north of the middle province, near Tian Shi Lake, with 6.2 million population. Kunming has the largest economy in Yunnan and is being developed to be a southern Asia trade center. The consumption behavior of people in Kunming is almost the same as people in the big city, because it is a developing city. The consumption behavior of people in Xishuangbanna is divided on their economic potential. In Chiang Rung city, people also consume like people in big cities like Kunming and Yunxi, while people in surrounded cities have lower purchasing power and different taste. People in surrounded cities, suburb, will not pay much attention to the technology and modern products, because of their purchasing power and way of life. There are many trade routes for the 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products in Thailand – Southern China border area, under North – South Economic Corridor. The most efficient route is Thailand – Lao – China road (R3A), because of the quickness, high safety. The route begins from Chiang Khong district of Chiang Rai province in Thailand to Bo Keaw – Luang Nam Tha – Bo Ten in the Lao PRD to Bo Han – Chiang Rung of Xishuangbanna – Yunxi – Kunming of Yunnan Province in China, with 1,258 Kilometers length, 21 – 24 hours of transportation and about 100,000 baht per container plus retailed entrepreneurs’ expense for the transportation service providers, about 5,000 baht per cubic meter. The Thailand – Southern China border’s customs formality for 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products is strict. Every exported commodity has to be reported and checked in customs formality. The customs documents for exportation are Export Declaration, Invoice, Export License (if any), Certificate of Origin (if any), and others such as catalog, ingredient tags. Normally, there are 4 steps in customs formality for exportation; transferring and/or showingฉ Export Declaration, tax/tariff proof, check and let commodity out of the country. About the export routes, land, sea and air are all the important trade route between Thailand and Yunnan. Nowadays, in Thailand, the Customs Department uses wireless electronics system for customs formality to facilitate the international trade. This all paperless process of customs formality for exportation is called E-Export, which included fee paying, information editing in case of asking permission from other departments, getting certificates and cargo permit. The way to develop the 10 fields of upper Northern Thailand handicraft products’ entrepreneurs should be divided into 2 groups; single and group entrepreneur. Nowadays, most businesses were organized in the vertical organization form and using their own capital to run the business. For the marketing, entrepreneurs were the price maker and most of them produced by the order of the customers. For the distribution channels, there were middlemen, exhibitions, market fairs, local walking streets and shops; both wholesale and retail, to distribute the handicraft products. For the payment, there were many ways to pay for goods; by cash, credit and sell on consignment. For the sell promotion, there were many techniques to do such as keeping contact with customers, finding new markets, and direct sell. The study also found that most of the producers used their own house as a producing place. They hired local labors and used local raw materials. The production management for both everyday sell and pre-order sell were used as the inventory management. The creation of English language International Trade Wordbook for Thailand – Southern China border’s Trade is one of the products’ value added strategy. Even the products are always recreated all the time on the demand of the customers, but wordbook could be used in the real situation; to describe the product’s origin which adds value to the products in the tourists’ sight. The satisfaction of using this wordbooks is in the highest level
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/557
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover1.4 MBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract644.43 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent975.03 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1606.21 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter22.96 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3468.66 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter41.03 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5527.48 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography534.97 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.