Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/561
Title: เส้นทางการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ ด้านงานหัตถกรรม 10 สาขา ของภาคเหนือตอนบน ภายใต้กรอบเส้นทางเศรษฐกิจตามแนวเหนือ-ใต้
Other Titles: A Study of Thai- South China Boarder Trade way on Thai Upper Northern 10 Lines of Handicraft Prefection Through the North – South Economic Corridor
Authors: โสมดี, ณัฐวัฒน์
Keywords: เส้นทางการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้
งานหัตถกรรม 10 สาขา ของภาคเหนือตอนบน
Issue Date: 2556
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไป ข้อได้เปรียบ ข้อเสียเปรียบของเส้นทางการขนส่ง สินค้าที่เชื่อมโยงจากไทย – จีนตอนใต้ (เส้นทาง R3A) 2) เพื่อศึกษาต้นทุนในการขนส่ง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ของสินค้างานหัตถกรรม ในเส้นทางการค้าที่เชื่อมโยงจากไทย – จีนตอนใต้ (เส้นทาง R3A) 3) ศึกษา ปัญหา - อุปสรรค และ ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากเส้นทางการค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้ที่มีต่อสังคม วัฒนธรรม ผู้ประกอบการ งานหัตถกรรมช่าง 10 สาขาของจังหวดั เชียงใหม่และภาคเหนือตอนบน ผูป้ ระกอบการลาว ผู้ประกอบการจีน เจ้าหน้าที่ศุลกากรเชียงของ เจ้าหน้าที่ศุลกากรเชียงแสน ผู้ประกอบการขนส่งสินค้า และคนในท้องถิ่น โดยใช้วิธีสุ่มแบบเจาะจง ตามวัตถุประสงค์ (Purposive sampling) เครื่องมือในการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบเก็บขอ้ มูลดา้ นเส้นทางการขนส่งสินคา้ จากจังหวัด เชียงใหม่สู่ตลาด จีนตอนใต้ และแบบสอบถาม (questionnaire) เรื่อง ปัญหา-อุปสรรค และผลกระทบจากเส้นทางการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม การวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ การนำข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์/จัดหมวดหมู่ และแสดงข้อมูลที่ไดเ้ ป็ นจานวนร้อยละ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของแต่ละจานวน โดยแสดงเป็นตารางและอภิปรายผลประกอบตัวเลขที่สถิติ รวมถึงการพรรณนาเพื่ออธิบายรายละเอียดประเด็นต่าง ๆ พร้อมแสดงรูปถ่ายประกอบ ผลการวิจัย พบว่า เส้นทางการค้าชายแดนไทย – จีนตอนใต้ เพื่อการขนส่งสินค้า งานหัตถกรรมของจงั หวดั เชียงใหม่ละภาคเหนือตอนบนสู่ตลาดในเขตปกครองตนเองชนชาติไทสิบสองปันนา และเมืองคุนหมิง ในมณฑลยูนนาน เป็นเส้นทางขนส่งทางบกโดยเลือกใช้ทางหลวง คุนหมิง - กรุงเทพฯ (Kunming-Bangkok Highway: R3A) โดยเส้นทางหมายเลข 3A (R3A) เป็นเส้นทางสายไหมเชื่อมโยงระหว่างจีน-ลาว-ไทย ในการศึกษาคร้ังน้ีมีต้นทางเริ่ มจากอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ของประเทศไทย - บ่อแกว้ - หลวงน้าทา - บ่อเต็น ประเทศลาว - บ่อหาน -เชียงรุ่งหรื อจิ่งหง แควน้ สิบสองปันนา และเดินทางผ่านเมืองยี่ซี นครคุนหมิง มณฆลยูนนาน ประเทศจีน สาหรับทางเดินเรือ ผ่านท่าเรือเชียงแสน อาเภอเชียงแสน จงั หวดั เชียงราย ถึงท่าเรือกวนเหล่ย สิบสองปันนา และเขา้ สู่ประเทศจีนตอนใต้ ใช้ระยะเวลาประมาณ 18 ชวั่ โมง ระยะทาง ประมาณ 1,090 กิโลเมตร ซ่ึงการขนส่งทางถนนและการขนส่งทางน้าเป็ นสองเส้นทางสำคัญ ที่จะขนส่งสินคา้ สู่ตลาดจีนตอนใต้ โดยเส้นทาง R3A น้ีผู้ประกอบการส่วนใหญ่หนั มาให้ความสำคัญและใช้เส้นทางน้ีมากข้ึน เพราะถือเป็นเส้นทางที่รวดเร็ว และปลอดภัย ในส่วนของปัญหา – อุปสรรค และผลกระทบที่เกิดข้ึนจากเส้นทางการคา้ ไทย-จีนตอนใต้ ของผูประกอบการนั้น จะใช้วิธีการวิเคราะห์ SWOT เข้า มาช่วยในการวิเคราะห์ ซ่ึงในส่วนของผู้ประกอบการไทย-ลาว-จีน มีศักยภาพในการทาธุรกิจส่งออกอยู่แล้ว โดยอาจมีจุดอ่อนในด้านวัตถุดิบ แรงงาน การต่อรองราคา โดยการเปิดเสรีการค้าภายใต้กรอบความตกลงอาเซียน-จีน ถือว่า เป็นโอกาสที่ดีสำหรับผู้ประกอบการ ส่วนปัญหาที่ผูป้ ระกอบการไทย-ลาว-จีน กำลังประสบอยู่ ได้แก่ มาตรการกีดกนั ทางการค้า ขั้นตอนการนำเข้าและส่งออกมีความซับซ้อน ทำให้เกิดความล่าช้า สำหรับเส้นทาง R3A นั้นเป็นเส้นทางขนส่งสินคา้ และเป็ นเส้นทางเศรษฐกิจสายสาคัญที่มีความสะดวก รวดเร็ว ส่วนจุดอ่อนที่เกิดข้ึน คือ การขนส่งสินค้า มีความล่าช้า ต้นทุนในการขนส่งสูง ด้านโอกาสจากการขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ส่งเสริมธุรกิจไทย-ลาว-จีน ตลอดจนด้านอุปสรรคและปัญหา ได้แก่ ความล่าช้าในการขนถ่ายสินค้า ปัญหาด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ ศุลกากร ปัญหาด้านขั้นตอนและระเบียบการนำเข้า เป็นต้น ทั้งนี้เส้นทางการค้า ไทย-จีนตอนใต้ของผู้ประกอบการไทย-ลาว-จีนมีผลต่อสังคม วฒั นธรรม คือ ผลกระทบต่อวิถีชีวิตและชุมชนของคนในพ้ืนที่ ระดับนำ้โขงที่เปลี่ยนไปจนกระทบวิถีชีวิตและอาชีพของผู้คนสองฝั่ง และเกิดการแลกเปลี่ยนทางวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมที่สามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ บนพ้ืนฐานของความร่วมมือ
Description: This research aims to 1) study the general information, advantages and disadvantages of using the Thailand - Southern China transportation route (Route R3A) 2) study transportation cost and fees for using Route R3A to transport handicraft products 3) study problems - obstacles and effects of using Route R3A to the society, culture, 10 handicraft fields entrepreneurs in Chiang Mai and upper northern Thailand area, Laos entrepreneurs, Chinese entrepreneurs, custom officers in Chiang Khong and Chiang San, logistic entrepreneurs and local people. The research used purposive sampling to choose samples. The research tools were the collecting data form for transportation route information from Chiang Mai to markets in Southern China area, and the questionnaire for gathering problems - obstacles and effects from using Route R3A in economic, social and cultural aspects. All Data were analyzed and categorized into groups. The percentage of data were shown in table form which can be easily compare. Both statistic data and detailed descriptions were shown in the discussion part with photos. This research found that the land transportation along Thailand - Southern China border for handicraft products, from Chiang Mai and upper northern Thailand area to the markets in Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture and Kunming city in Yunnan province of China, is Kunming-Bangkok Highway: R3A. This silk road connected route in China, Lao and Thailand. This study began the route from Chiang Khong district of Chiang Rai in Thailand to Bo Keaw, Luang Nam Tha and Bo Ten in Lao, Bo Han, Chiang Rung in Xishuangbanna and Yisi town in Kunming city of Yunnan province, China. For sea route, the transportation started from Chiang San harbor in Chiang San district of Chiang Rai province to Guanlei harbor inจ Xishuangbanna and to the Southern China area after. The transportations spend about 18 hours (1,090 kilometers). Even both land and sea routes are the most important transportation route to the markets in Southern China area, but nowadays, more and more entrepreneurs turn to use R3A route because of its safety and rapidity. About the studying problems - obstacles and effects of using Route R3A, this research used SWOT analysis and found that most of the entrepreneurs in Thailand, Lao and China already have a high level of potentiality in Export. The weakness were about resources, labors, and bargaining, but they were solved by the free trade agreement as a great opportunity. The main problems for import and export were trade barriers and complicated process. R3A route is an important route for transportation and economy, because of its safety and rapidity. The weakness was a high service cost. The opportunity was the economic growth in Thailand, Lao, and China. The problem and obstacle were the transportation delay, custom officer services, and the import rules and process. Moreover, the businesses on this route effected both society and culture such as way of people's life, water level in Khong river, occupations, and created cultural exchange which can be applied and used as a benefit under the cooperation.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/561
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover763.9 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract503.95 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent877.75 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1521.72 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter21.84 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3472.35 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter45.49 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5649.51 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography537.35 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix743.53 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.