Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/580
Title: การพัฒนาการเรียนการสอนจริยธรรม สำหรับเด็กปฐมวัย
Other Titles: The Developing of Ethical Model Instructional for Early Childhood
Authors: ศรีสุรักษ์, ชไมมน
Keywords: ารจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย
การบูรณาการ
ูปแบบการ เรียนรู้จริยธรรม “แบบสร้างตนเพื อชีวิตและสังคม”
การมีส่วนร่วม
Issue Date: 2554
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย และศึกษาปญหาอุปสรรคจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย โดยบูรณาการรูปแบบ “การสร้างตนเพื่อชีวิตและสังคม” ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมายใช้แบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัยโดยบูรณาการรูปแบบ “การสร้างตนเพือชีวิตและสังคม” ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม คือ นักเรียนที เรียนในโรงเรียนอนุบาลสานสายใยรัก รวมทั งครู และผู้ปกครอง, เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา อําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2554 เครื องมือที ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวิเคราะห์สถานการณ์โรงเรียนอนุบาลสานสายใยรัก 2) แบบฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื องการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัยโดยบูรณาการรูปแบบ “การสร้างตนเพื อชีวิตและสังคม” ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม 3) แบบนิเทศติดตามครูชุดการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย 4) แบบสอบถาม ความคิดเห็นของครูในการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมเด็กสําหรับปฐมวัย สถิติที ใช้ในวิเคราะห์ ข้อมูลคือแบบประเมินความสอดคล้อง (IOC) และค่าร้อยละผลการวิจัย พบว่า เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาผลสัมฤทธิการเรียนรู้ทางจริยธรรมสูงขึ้นกว่าก่อนจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับดีมาก 81.67% เมื่อเปรียบเทียบค่าร้อยละของการประเมินผลพัฒนาการ จากการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัยทุกระดับชั นทําให้เห็นความก้าวหน้าของพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพิ มขึ นทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปญญา ระหว่างการพัฒนาครูได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และศักยภาพ (SWOT) พบว่า 1) จุดแข็ง : มีหลักสูตรสถานศึกษาที มีภูมิปญญาท้องถิ นเป็นฐาน ั และมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน 2) จุดอ่อน (หรือ ข้อจํากัด) : คือทักษะการบูรณาการความรู้ของครูด้านการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย รวมทั งขาดผู้บริหารจํานวน 1 อัตรา และครู จํานวน 1 อัตรา 3) โอกาส : การวิจัยครั งนี เป็นปจจัยภายนอกที สามารถนําการปรับปรุง และพัฒนาทั งระบบโรงเรียน (เช่น สามารถฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื องการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัย และนิเทศการสอนของครู โดยใช้กิจกรรมการวิเคราะห์สถานการณ์และบูรณาการรูปแบบ “การสร้างตนเพื อชีวิตและสังคม” ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม) ตามสภาพจริงของโรงเรียน 4) อุปสรรค : คือข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื อการจัดการเรียนการสอนจริยธรรรมสําหรับเด็กปฐมวัยในท้องถิ นมีไม่เพียงพอต่อการสืบค้น และหลังจากการวิจัย พบว่า ผลการศึกษาปัญหา อุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนจริยธรรมสําหรับเด็กปฐมวัยโดย ใช้วิธีการตอบแบบสอบถาม พบว่า ปญหาและอุปสรรคในการพัฒนา คือ ทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศของครูผู้สอนเพื อใช้ในการสอนและการวิจัยสําหรับครูปฐมวัย
Description: This aims to study the developing of ethical model instructional for early childhood by integrate the “ethical learning for life and society model” with participation approach and problem from using this approach. The subjects (Purposive Sampling) were the students who study in Sansaiyairak School, including the teachers and the parents, Muang Gan Municiple, Meatang District, Chiang mai Province, 2011. The instruments consisted of 1) the situational analysis model 2) the lesson plan for teacher trainee model 3) the supervisor model 4) the teacher’s opinion questionnaires toward using of ethical model instructional for early childhood by integrated the “ethical learning for life and society model” with participation approach and problem from using this approach. Descriptive analysis (IOC) and (percentage) were used in this study. The results from the study found that the student’s ethical achievement of learning the ethical model instructional for early childhood by integrated the “ethical learning for life and society model” with participation approach performed at very good level 81.67%, and the student’s all developmental achievement (physical, emotion, social, intelligence) had progressed. The teacher’s opinion from this study by SWOT and questionnaires were found that 1) Strengths: the curriculum academy based on local wisdom and all sectors participation 2) Weaknesses (or Limitations) : are the teacher’s knowledge and skill to integrated the ethical techniques teachings for early childhood and lacking the superintendent of school and a teacher 3) Opportunities: this study is the external chances to improve performance and develop school system (e.g.3 the lesson plan for teacher trainee model and the supervisor model by situational analysis activity and the “ethical learning for life and society model to improve the teacher’s knowledge and skill to integrated the ethical techniques teachings) in the environment 4) Threats: technology information no more data for teachers to study about ethical activities for children in local. The problems and obstacles due to the usage of materials technology skills of teacher for teaching and research were found.
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/580
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover410.41 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract465.67 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent422.28 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter1431.79 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter21.45 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter3564.55 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter4966.71 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter5477.45 kBAdobe PDFView/Open
Bibliograph.pdfBibliography414.4 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix1.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.