Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/821
Title: โครงการวิเคราะหการออกแบบบรรจ  ภุ ัณฑและศักยภาพ ของธุรกิจชุมชน ตามโครงการ “หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ” อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม
Other Titles: (The Analysis of Packaging Design and the Potentiality of Community Business, Hang-Dong District, Chiang Mai )
Authors: ศรีชูชาต, สุ มิตรา
และคณะ
Srichuchaat, Sumittra
Keywords: โครงการ
บรรจุภัณฑ์
หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
Issue Date: 2550
Publisher: Chiang Mai Rajabhat University
Abstract: การวิจัยวิเคราะหการออกแบบบรรจุภัณฑและศักยภาพของธุรกิจชุมชนโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ของอําเภอหางดงครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อวิเคราะหการออกแบบบรรจุภัณฑสินคาประเภทผลิตภัณฑอาหารแปรรูป 2) เพื่อวิเคราะหศักยภาพดานการจัดการของกลุมอาชีพ หรือ กลุมธุรกิจของชุมชน ดานการบริหารทรัพยากร คน เงิน งานและ วัสดุอุปกรณ 3) เพื่อวิเคราะหศักยภาพดานการตลาดในดานการนําสินคาจากผูผลิตไปสูผูบริโภค 4) เพื่อวิเคราะหศักยภาพดานการผลิต การวางแผน ควบคูกับการตัดสินใจดานการผลิตและการดําเนินธุรกิจ โดยใชวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ไดแก การวิจัยกรณีศึกษา (Case Study) เพื่อใหชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาผลิตภัณฑ (Based on Community participation)การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เพื่อการวิเคราะหเนื้อหาจากเอกสารบันทึกหรือสิ่งพิมพตาง ๆ เกี่ยวกับกลุมอาชีพ หรือ กลุมธุรกิจชุมชน การวิจัยภาคสนาม (Field Study) เพื่อใหทราบถึงสภาพความเปนจริงในสังคมหรือธรรมชาติของกลุมอาชีพ หรือ กลุมธุรกิจชุมชน การวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) เพื่อคนหาขอเท็จจริงที่ปรากฏของกลุมอาชีพ หรือ กลุมธุรกิจชุมชน วามีสภาพเปนอยางไร การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เพื่อทดสอบสถานการณที่สรางขึ้นเพื่อหาแนวทางในการสงเสริมการสรางผลผลิตใหไดมาตรฐาน และ การวิจัยทางศิลปะประยุกต (Applied Art Research) เพื่อเปนการนําผลวิจัยไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการออกแบบบรรจุภัณฑคผลการวิจัย พบวา การออกแบบบรรจุภัณฑประเภทอาหารแปรรูปของกลุม ธุรกิจชุมชนในอําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม เปนไปตามการผลักดันของหนวยงานทางราชการและสถาบันทางการศึกษาที่จัดสอนรายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ ที่นําการออกแบบบรรจุภัณฑไปใหเจาของผลิตภัณฑเลือกนําไปใช และบางหนวยงานไดออกงบประมาณในการผลิตใหดวยสําหรับรูปแบบของบรรจุภัณฑและผลิตภัณฑอาหารแปรรูปนั้น พบวา มีรูปแบบคงเดิมเชนที่เคยมีมาในอดีต แตมีการปรับปรุงบรรจุภัณฑโดยใชพลาสติก กระดาษ และปรับปรุงหนาตาของผลิตภัณฑใหสะอาดนารับประทานขึ้น สําหรับบรรจุภัณฑที่สงผลใหราคาสินคาเพิ่มขึ้นไมเปนที่นิยมเพราะทําใหยอดขายลดลง ทั้งนี้เพราะผลิตภัณฑอาหารแปรรูปเปนอาหารพื้นเมืองทั้งหมดสวนการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจชุมชน พบวา กลุมธุรกิจอาหารแปรรูปที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณของโครงการตาง ๆ ไมประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ แตธุรกิจรายเดี่ยวจะประสบความสําเร็จและมีการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง รวมถึงกลุมธุรกิจที่อยูในรูปแบบของกลุมแมบานที่มีหัวหนากลุมที่ยึดธุรกิจนั้นเปนอาชีพดวยขอเสนอของการวิจัย ไดแก ควรมีการสงเสริมใหกลุมอาชีพใหมีความรูดานการบริหารจัดการธุรกิจทุกดาน การจัดหากองทุนเพื่อสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ และควรมีการสงเสริมธุรกิจรายเดี่ยวซึ่งมีการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่องใหเปนวิสาหกิจชุมชนโจทยวิจัยที่ควรจะศึกษาตอเนื่อง คือ 1) ทําอยางไรจึงจะสนับสนุนใหธุรกิจรายเดี่ยวเปนวิสาหกิจชุมชน 2) รูปแบบของธุรกิจชุมชนที่ยั่งยืนควรเปนอยางไร 3) ทําอยางไรจึงจะสรางจิตสํานึกรักชุมชนและพรอมที่จะทําธุรกิจเพื่อชุมชน 4) รูปแบบการใหการศึกษาแกกลุมธุรกิจชุมชนดานการบริหารจัดการธุรกิจอยางยั่งยืนควรเปนอยางไร และ 5) ทําอยางไรการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐจึงจะสามารถพัฒนาธุรกิจชุมชนไดอยางแทจริง
Description: The research on “The Analysis of Packaging Design and the Potentiality of CommunityBusiness, Hang Dong District, Chiang Mai” aims to 1) analyze the packaging design of the foodproducts 2) the potentiality of business management, especially on resources, manpower, money,material and work procedure management 3) the marketing potential and 4) the productionpotential the planning andtheproductiondecision.Theresearchmethods were combined among the case study, documentary research,field study survey research and experimental research including applied art research.The research results show that the packaging designs were made by the governmentencouragement and the educational institutes which provide the product design program. Some businesses were granted the money for packaging. All of them were made of paper and plastic.The packaging design which leads to the high-priced product was unsuccessful due to thedecrease of the turnover. For the product design, they were made the same as it used to be sinceall the products are local food, but some were furnished to attract customers. In term of thepotential analysis, the result shows that the business group which were established in order to begranted the money from the government projects were not successful and become bankrupted,but the private business and the community woman groups which the leaders earn their living bythose businesses were successful.The research suggestions are: the educational support on business management, thebusiness fund and the private business support tobecomecommunityenterprises.Theresearch questions which should be continued to find out the answers are 1)How to support the private business to be a community enterprises? 2) What are the life-longbusiness patterns? 3) How to cultivate the community spirit to do the business for thecommunity? 4) What is the suitable educational pattern to create the life-long business management? And 5) How to grant the budget to develop community business efficiently?
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/821
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover1.02 MBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract398.96 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent397.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-1.pdfChapter-1489.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-2.pdfChapter-2662.98 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-3.pdfChapter-3937 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-4.pdfChapter-4486.36 kBAdobe PDFView/Open
Chapter-5.pdfChapter-51.29 MBAdobe PDFView/Open
Chapter-6.pdfChapter-6707.46 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography397.04 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix14.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.