Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแก้วฟุ้งรังษี, พรพิมล-
dc.contributor.authorKaewfoongrungsi, Pornpimon-
dc.date.accessioned2019-09-06T09:14:24Z-
dc.date.available2019-09-06T09:14:24Z-
dc.date.issued2019-09-26-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1890-
dc.descriptionงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษาและอาจารย์ สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยใช้ทฤษฎีรวมของการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี (UTAUT) จากการใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา คือ นักศึกษา จำนวน 700 คน อาจารย์ จำนวน 225 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์งานวิจัย โดยการใช้วิธีของครอนบาคคำนวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาสำหรับวิเคราะห์คุณภาพความเที่ยงของแบบสอบถามก่อนการนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการวิจัยกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษา คือ ปัจจัยด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ ปัจจัยด้านความบันเทิงในการใช้งาน ปัจจัยด้านการเอาใจใส่ ปัจจัยด้านการสนับสนุนทางเทคนิค และปัจจัยด้านความคาดหวังในความพยายาม สำหรับปัจจัยด้านแรงจูงใจไม่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษา เนื่องจากอาจารย์เป็นผู้กำหนดให้นักศึกษาเข้าใช้งานระบบอีเลิร์นนิง นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษาที่มีค่านัยสำคัญทางสถิติอยู่ที่ 0.01 คือ ชั้นปี ผลการวิจัยกลุ่มตัวอย่างอาจารย์ พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของอาจารย์ คือ ปัจจัยด้านความบันเทิงในการใช้งาน ปัจจัยด้านการสนับสนุนทางเทคนิค ปัจจัยด้านการเอาใจใส่ ปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ ปัจจัยด้านการฝึกอบรม ปัจจัยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกในการใช้งาน ปัจจัยด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ และปัจจัยด้านแรงจูงใจ สำหรับปัจจัยด้านเทคโนโลยีไม่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของอาจารย์ เนื่องจากอาจารย์มีความพร้อมของเครื่องมือการทำสื่อและมีเทคโนโลยีรองรับการใช้งานระบบอีเลิร์นนิง นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของอาจารย์ที่มีค่านัยสำคัญทางสถิติอยู่ที่ 0.01 คือ ประสบการณ์ คณะ และ เพศth_TH
dc.description.abstractThe purpose of the research aims to find factor on the adoption of E-learning system by lecturers and students for Chiang Mai Rajabhat University. In this research has been applied conceptual framework base on Unified theory of acceptance and use of technology (UTAUT). Data, collected by quota sampling method from 700 samples of students and 225 samples of lecturers. The research tool is questionnaire survey to achieve the research objectives, using Cronbach method, alpha coefficient was used to analyze the quality reliability of the questionnaire. The statistics used in this research for data analysis are include average, percentage, standard deviation and multiple linear regression analysis. The results of student to finding impact factor on the adoption of E-learning system are Factors of perceived benefits, Factors of entertainment applications, Factors of empathy, Factors of technical support and factors of expectations in the effort. Also found that, the influence of personal factors on the adoption of e-learning system by students with significant 0.01 is level of academic year. The results of lecturers to finding impact factor on the adoption of E-learning system are follows: Factors of entertainment applications, Factors of technical support, Factors of empathy, Factors of publicity, Factors of training, Factors of facilities in use, Factors of perceived benefits and factors of motivation. Also found that, the influence of personal factors on the adoption of e-learning system by lecturers with significant 0.01 are faculty, experience and gender.th_TH
dc.description.sponsorshipกองทุนมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2562th_TH
dc.format.mediumapplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rightsCopy Rights มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectอีเลิร์นนิงth_TH
dc.subjectทฤษฎีรวมของการยอมรับและการใช้เทคโนโลยีth_TH
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีth_TH
dc.subjecte-Learningth_TH
dc.subjectUnified theory of acceptance and use of technology (UTAUT)th_TH
dc.subjectTechnology Acceptanceth_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยการยอมรับระบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษาและอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe study of factor on the Adoption of E-learning System of Chiang Mai Rajabhat University Lecturers and Students.th_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)375.6 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent (สารบัญ)957.49 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัดย่อ)301.69 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter 1 (บทที่ 1)498.59 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter 2 (บทที่ 2)3.28 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter 3 (บทที่ 3)1.4 MBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter 4 (บทที่ 4)2.55 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter 5 (บทที่ 5)591.7 kBAdobe PDFView/Open
Reference.pdfReference (บรรณานุกรม)387.38 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix (ภาคผนวก)1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.