Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1390
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฐิตินันท์, เขียวนิล-
dc.date.accessioned2019-01-08T04:52:12Z-
dc.date.available2019-01-08T04:52:12Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1390-
dc.descriptionThis study was aimed to investigated to working stress of the operational-level officer. A total of 199 participants were sampling from personnel working at Chiangmai Rajabhat University and 18 stakeholders were participated in this study. Questionnaires, focus group discussion and in – dept interview were used as tools for data collecting. Data were analyzed by descriptive statistics, correlation coefficientc and content analysis. The results indicated that working stress was moderate (2.54 ± 0.83). age had a relationship at the 0.05 significant levels (r = 0.170, p-value = 0.016). The public has made policy recommendations to address good governance process, health promotion project, contributions in working, work motivation and self development.th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ¬เพื่อประเมินภาวะความเครียดและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะความเครียดของพนักงานสายสนับสนุน และเพื่อได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อป้องกันภาวะความเครียดจากการปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุนอันจะนำไปสู่นโยบาย การบริหารทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่าง เป็นพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 199 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยใช้เป็นแบบสอบถาม การสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ภาวะความเครียดของพนักงานสายสนับสนุนมีระดับ ภาวะความเครียดโดยเฉลี่ยระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.54 ± 0.83) อายุมีความสัมพันธ์กับระดับความเครียดจากการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (r = 0.170, p-value = 0.016) ส่วนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายได้เสนอแนะให้สร้างระบบธรรมาภิบาล พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาพ การเชิดชูผลการปฏิบัติงาน เสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและส่งเสริมการพัฒนาตนเองth_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.format.mediumApplication/pdfth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherChiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.rights@CopyRights มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.subjectความเครียดจากการปฏิบัติงานth_TH
dc.subjectพนักงานth_TH
dc.subjectเชิงนโยบายth_TH
dc.subjectป้องกันภาวะความเครียดth_TH
dc.titleการพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อป้องกันภาวะความเครียดจากการปฏิบัติงาน ของพนักงานสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeA development public policy of work-related stress protection of supporting staffs in Chiang Mai Rajabhat Universityth_TH
dc.typeResearchth_TH
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover661.75 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract690.72 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent710.59 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 1.pdfChapter 1580.29 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 2.pdfChapter 2780.79 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 3.pdfChapter 3441.42 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 4.pdfChapter 4764.82 kBAdobe PDFView/Open
Chapter 5.pdfChapter 5577.88 kBAdobe PDFView/Open
bibliography.pdfBibliography690.2 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.