Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/622
Title: การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรียน ที่มีความต้องการพิเศษ ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
Other Titles: The Development of Reading and Writing Skill for the Special Need Students in the School Under the office of Chiangmai Educational Service Area 4
Authors: ถาธัญ, ศรีทูล
คณะ
Keywords: การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรียน
โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
Issue Date: 2553
Publisher: Chang Mai Rajabhat University
Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างสื่อพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 และ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ที่เรียนโดยใช้สื่อที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยจากโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 5 โรง จำนวนครู 5 คน จำนวนนักเรียน 17 คน ซึ่งได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและเขียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ จำนวน 3 เรื่อง คือ เรื่องที่ 1 วัดบ้านฉัน เรื่องที่ 2 ประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ เรื่องที่ 3 ผูกพันท้องทุ่ง 2) แบบทดสอบทักษะการอ่านและการเขียนก่อนและหลังเรียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ 3.แบบทดสอบการอ่านและการเขียนในแต่ละเรื่อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของสื่อพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น คือ ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและเขียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 77.82 / 77.65 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 ชุดพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทย หน่วยชุมชนน่าอยู่ เรื่องวัดบ้านฉัน มีประสิทธิภาพ (E1/E2 ) เท่ากับ 80.71 / 78.82 เรื่องประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.74 / 82.94 เรื่องผูกพันท้องทุ่ง มีประสิทธิภาพ (E1/E2 ) เท่ากับ 76.99 / 76.47 1.2 ชุดพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทย หน่วยชุมชนน่าอยู่ เรื่องวัดบ้านฉัน มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 75.36 / 76.47 เรื่อง ประเพณีสำคัญ: วันสงกรานต์ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 76.67 / 75.29 และเรื่อง ผูกพันท้องทุ่ง มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 76.36 / 75.88 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและการเขียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 77.65 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 55.89 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่าน เรื่อง วัดบ้านฉัน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 78.82 ก้าวหน้า เท่ากับร้อยละ 46.47 เรื่อง ประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 82.94 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 56.47 และ เรื่อง ผูกพันท้องทุ่ง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 76.47 ก้าวหน้าเท่ากับ ร้อยละ 43.97 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการเขียน เรื่อง วัดบ้านฉัน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 76.47 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 50.59 เรื่อง ประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 75.29 ก้าวหน้า เท่ากับร้อยละ 52.35 และ เรื่อง ผูกพันท้องทุ่ง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 75.88 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 52.35
Description: การวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างสื่อพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 และ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ที่เรียนโดยใช้สื่อที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยจากโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 5 โรง จำนวนครู 5 คน จำนวนนักเรียน 17 คน ซึ่งได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและเขียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ จำนวน 3 เรื่อง คือ เรื่องที่ 1 วัดบ้านฉัน เรื่องที่ 2 ประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ เรื่องที่ 3 ผูกพันท้องทุ่ง 2) แบบทดสอบทักษะการอ่านและการเขียนก่อนและหลังเรียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ 3.แบบทดสอบการอ่านและการเขียนในแต่ละเรื่อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของสื่อพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น คือ ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและเขียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 77.82 / 77.65 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 ชุดพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทย หน่วยชุมชนน่าอยู่ เรื่องวัดบ้านฉัน มีประสิทธิภาพ (E1/E2 ) เท่ากับ 80.71 / 78.82 เรื่องประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.74 / 82.94 เรื่องผูกพันท้องทุ่ง มีประสิทธิภาพ (E1/E2 ) เท่ากับ 76.99 / 76.47 1.2 ชุดพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทย หน่วยชุมชนน่าอยู่ เรื่องวัดบ้านฉัน มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 75.36 / 76.47 เรื่อง ประเพณีสำคัญ: วันสงกรานต์ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 76.67 / 75.29 และเรื่อง ผูกพันท้องทุ่ง มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 76.36 / 75.88 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและการเขียน หน่วยชุมชนน่าอยู่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 77.65 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 55.89 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่าน เรื่อง วัดบ้านฉัน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 78.82 ก้าวหน้า เท่ากับร้อยละ 46.47 เรื่อง ประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 82.94 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 56.47 และ เรื่อง ผูกพันท้องทุ่ง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 76.47 ก้าวหน้าเท่ากับ ร้อยละ 43.97 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการเขียน เรื่อง วัดบ้านฉัน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 76.47 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 50.59 เรื่อง ประเพณีสำคัญ : วันสงกรานต์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 75.29 ก้าวหน้า เท่ากับร้อยละ 52.35 และ เรื่อง ผูกพันท้องทุ่ง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 75.88 ก้าวหน้าเท่ากับร้อยละ 52.35
URI: http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/622
Appears in Collections:Research Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cover.pdfCover (ปก)464.32 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdfAbstract (บทคัคย่อ)439.26 kBAdobe PDFView/Open
Content.pdfContent(สารบัญ)426.5 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdfChapter-1 (บทที่1)513.06 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdfChapter-2 (บทที่2)1.22 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdfChapter-3 (บทที่3)642.7 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdfChapter-4 (บทที่4)628.47 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdfChapter-5 (บทที่5)511.5 kBAdobe PDFView/Open
Bibliography.pdfBibliography (บรรณานุกรม)785.07 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdfAppendix(ภาคผนวก)744.1 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.